manchesterunited
|  
 ตะกร้าสินค้า (0)






เกี่ยวกับสโมสร

ชื่อเต็ม แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด ฟุตบอล คลับ
ชื่อเดิม นิวตัน ฮีธ แอล แอนด์ วายอาร์
ฉายา เรด เดวิลส์
ก่อตั้ง 1878
สนาม โอลด์ แทรฟฟอร์ด (1910 - ปัจจุบัน)
ความจุ 76,212 คน
สนามเดิม นอร์ธ โร้ด (1880-1893), แบงค์ สตรีท (1893-1910), เมน โร้ด (1941-1945)
 

เจ้าของ มัลคอล์ม เกลเซอร์
ประธานสโมสรกิตติมศักดิ์ มาร์ติน เอ็ดเวิร์ดส
ประธานสโมสรร่วม โจเอล เกลเซอร์, อัฟราม

เกลเซอร์
ผู้บริหารสูงสุด เดวิด กิลล์
ทูตสโมสร ไบรอัน ร็อบสัน
ผู้จัดการทีม เซอร์ อเล็กซ์ เฟอร์กูสัน (1986 - ปัจจุบัน)
ผู้จัดการทีมในอดีต เออร์เนสต์ มังนัลล์ (1903-1912), จอห์น เบนท์ลี่ย์ (1912-1914), จอห์น ร็อบสัน (1914-1921), จอห์น แชปแมน (1921-1926), คลาเรนซ์ ฮิลดิทช์ (1926-1927), เฮอร์เบิร์ต แบมเลตต์ (1927-1931), วอลเตอร์ คริคเมอร์ (1931-1932), สกอตต์ ดันแคน (1932-1937), วอลเตอร์ คริคเมอร์ (1937-1945), แมตต์ บัสบี้ (1945-1969), วิล์ฟ แม็คกินเนสส์ (1969-1970), เซอร์ แมตต์ บัสบี้ (1970-1971), แฟรงค์ โอฟาร์เรลล์ (1971-1972), ทอมมี่ ด็อคเคอร์ตี้ (1972-1977), เดฟ เซ็กซ์ตัน (1977-1981), รอน แอตกินสัน (1981-1986)

ประวัติสโมสร

รายชื่อประจำตำแหน่งในสโมสร
ย้อนรอย - แชมป์พรีเมียร์ ลีก สมัยที่แปด ฤดูกาล 2002-2003
ย้อนรอย - แชมป์พรีเมียร์ ลีก สมัยที่เจ็ด ฤดูกาล 2000-2001
ย้อนรอย - แชมป์พรีเมียร์ ลีก สมัยที่หก ฤดูกาล 1999-2000
ย้อนรอย - แชมป์พรีเมียร์ ลีก สมัยที่ห้า ฤดูกาล 1998-1999
ย้อนรอย - แชมป์พรีเมียร์ ลีก สมัยที่สี่ ฤดูกาล 1996-1997
ย้อนรอย - แชมป์พรีเมียร์ ลีก สมัยที่สาม ฤดูกาล 1995-1996
ย้อนรอย - แชมป์พรีเมียร์ ลีก สมัยที่สอง ฤดูกาล 1993-1994
ย้อนรอย - แชมป์พรีเมียร์ ลีก สมัยแรก ฤดูกาล 1992-1993
มิวนิค 15.03 นาฬิกา
ประวัติศาสตร์ โอลด์ แทรฟฟอร์ด
ย้อนรอยอดีต แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด


แผนที่

Manchester United
Sir Matt Busby Way
Old Trafford
Manchester
M16 0RA

Tel 0161 868 8000
Fax 0161 869 8804

enquiries@manutd.co.uk
www.manutd.com
 
ผู้เล่นแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด 2010-2011
ผู้เล่นแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด 2010-2011


ชุดเหย้า

ชุดเยือน

ชุดสำรอง




ทำเนียบแชมป์
 
ดิวิชั่น 1 - พรีเมียร์ ลีก

ดิวิชั่น 1 : 1908, 1911, 1952, 1956, 1957, 1965, 1967 พรีเมียร์ ลีก : 1993, 1994, 1996, 1997, 1999, 2000, 2001, 2003, 2007, 2008, 2009, 2011
 
เอฟเอ คัพ

1909, 1948, 1963, 1977, 1983, 1985, 1990, 1994, 1996, 1999, 2004
 
ลีก คัพ

1992, 2006, 2009, 2010
 
แชร์ริตี้ ชิลด์ - คอมมิวนิตี้ ชิลด์

1908, 1911, 1952, 1956, 1957, 1965, 1967, 1977, 1983, 1990, 1993, 1994, 1996, 1997, 2003, 2007, 2008, 2010, 2011
 
ยูโรเปี้ยน คัพ - แชมเปี้ยนส์ ลีก

ยูโรเปี้ยน คัพ : 1968 แชมเปี้ยนส์ ลีก : 1999, 2008
 
ฟีฟ่า คลับ เวิลด์ คัพ

2008
 
ยูฟ่า ซูเปอร์ คัพ

1991
 
ยูโรเปี้ยน คัพ วินเนอร์ส คัพ

1991
 
อินเตอร์คอนติเนนทัล คัพ

1999
           





ประวัติบอลอังกฤษ พรีเมียร์ลีก 

ประวัติบอลอังกฤษ พรีเมียร์ลีก (EPL)


เอฟเอพรีเมียร์ลีก
เอฟเอพรีเมียร์ลีก (FA Premier League) หรือนิยมเรียกว่า พรีเมียร์ลีก (Premier League) เป็นระบบการแข่งขันฟุตบอลลีกในระดับสูงสุดของประเทศอ ังกฤษ ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) ภายใต้การบริหารของสมาคมฟุตบอลอังกฤษ หรือมีชื่อตามผู้สนับสนุนการแข่งขันอย่างเป็นทางการว ่า บาร์เคลส์ พรีเมียร์ชิพ เนื่องจากในปัจจุบัน สนับสนุนโดย บริษัทการเงินบาร์เคลส์

การแข่งขันพรีเมียร์ลีก เป็นที่รวมของ 20 สโมสรฟุตบอลในระดับสูงสุดของอังกฤษเข้าด้วยกัน โดยปัจจุบัน มีเพียง 4 ทีมเท่านั้น ที่เคยชนะเลิศในการแข่งขันรายการนี้ ได้แก่ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด, อาร์เซนอล, แบล็คเบิร์น โรเวอร์ส และ เชลซี

ประวัติ
แต่เดิมฟุตบอลลีกแห่งนี้ ใช้ชื่อว่า ฟุตบอลลีกดิวิชันหนึ่ง ซึ่งมีจัดการแข่งขันตั้งแต่ปี พ.ศ. 2431 (ค.ศ. 1888) และถือว่าเคยเป็นลีกฟุตบอลที่ยาวนานที่สุดในโลก โดยในปี พ.ศ. 2535 ในฤดูกาล 1992-93 ความเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญเกิดขึ้นจากรูเพิร์ธ เมอร์ด็อก (Rupert Murdoch) นักธุรกิจสื่อสารรายใหญ่เจ้าของเครือข่ายสถานีโทรทัศ น์สกาย (BSkyB) พยายามผลักดันให้สโมสรฟุตบอลที่จะลงแข่งขันในดิวิชัน หนึ่งประจำฤดูกาล 1992-93 ถอนตัวออกมาจัดตั้งเป็นพรีเมียร์ลีกทำให้ฟุตบอลลีกสู งสุดของอังกฤษที่มีอายุ 104 ปี ต้องยุติลง ขณะเดียวกันทางฟุตบอลลีกเดิมได้เปลี่ยนชื่อจาก ดิวิชันสอง มาเป็น ดิวิชันหนึ่ง และดิวิชันอื่นได้เปลี่ยนตามกันไป

แชมป์พรีเมียร์ลีก

ฤดูกาล ผู้ชนะเลิศ

2008-09 แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
2007-08 แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
2006-07 แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
2005-06 เชลซี
2004-05 เชลซี
2003-04 อาร์เซนอล
2002-03 แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
2001-02 อาร์เซนอล
2000-01 แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
1999-00 แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
1998-99 แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
1997-98 อาร์เซนอล
1996-97 แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
1995-96 แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
1994-95 แบล็คเบิร์น โรเวอร์ส
1993-94 แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
1992-93 แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด



ทำประตูสูงสุด

 

 

 

ทีมงานประจำสโมสร

บริษัท แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด จำกัด

  • ประธานสโมสรร่วม – โจเอล เกลเซอร์ และ อาฟราม เกลเซอร์
  • ผู้อำนวยการฝ่ายบริหาร – เดวิด กิลล์
  • ผู้อำนวยการฝ่ายปฏิบัติการ - มิชาเอล โบลิ่งโบรค
  • ผู้อำนวยการด้านการค้า – ริชาร์ด อาร์โนลด์
  • ผู้อำนวยการบริหาร - เอ็ด วู้ดเวิร์ด
  • ผู้อำนวยการ – ไบรอัน เกลเซอร์ / เควิน เกลเซอร์ / เอ็ดเวิร์ด เกลเซอร์ / ดาร์ซี เกลเซอร์

สโมสรฟุตบอล แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด

ทีมผู้ฝึกสอนและแพทย์

ผู้เล่นชุดปัจจุบัน

Note: ธงชาติที่ปรากฎบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่า ตามความเหมาะสม เพราะบางผู้เล่นอาจถือสองสัญชาติ

หมายเลข
ตำแหน่ง ผู้เล่น
1 ธงชาติของสเปน GK ดาบิด เด เคอา
3 ธงชาติของฝรั่งเศส DF ปาทริส เอวรา
4 ธงชาติของอังกฤษ DF ฟิล โจนส์
5 ธงชาติของอังกฤษ DF ริโอ เฟอร์ดินานด์
7 ธงชาติของอังกฤษ FW ไมเคิล โอเวน
8 ธงชาติของบราซิล MF แอนเดอร์สัน
9 ธงชาติของบัลแกเรีย FW ดิมิทาร์ เบอร์บาตอฟ
10 ธงชาติของอังกฤษ FW เวย์น รูนีย์
11 ธงชาติของเวลส์ MF ไรอัน กิกส์
12 ธงชาติของอังกฤษ DF คริส สมอลลิง
13 ธงชาติของเกาหลีใต้ MF ปาร์ก จีซอง
14 ธงชาติของเม็กซิโก FW คาเบียร์ เอร์นันเดซ
15 ธงชาติของเซอร์เบีย DF เนมันยา วิดิช (กัปตันทีม)
16 ธงชาติของอังกฤษ DF ไมเคิล คาร์ริก
17 ธงชาติของโปรตุเกส MF นานี
18 ธงชาติของอังกฤษ MF แอชลีย์ ยัง
20 ธงชาติของบราซิล DF ฟาบีโอ

หมายเลข
ตำแหน่ง ผู้เล่น
21 ธงชาติของบราซิล DF ราฟาเอล
23 ธงชาติของไอร์แลนด์เหนือ DF จอนนี อีแวนส์
24 ธงชาติของสกอตแลนด์ MF ดาร์เรน เฟล็ตเชอร์
25 ธงชาติของเอกวาดอร์ MF อันโตเนียว บาเลนเซีย
26 ธงชาติของฝรั่งเศส FW กาเบรียล โอแบร์ต็อง
28 Flag of Ireland MF ดาร์รอน กิบสัน
29 ธงชาติของโปแลนด์ GK ตอมัช กุชชัก
32 ธงชาติของเซเนกัล FW มาเม บิราม ดิยุฟ
34 ธงชาติของเดนมาร์ก GK อันเดอร์ส ลินเดการ์ด
37 Flag of Ireland MF โรเบิร์ต แบรดี
40 ธงชาติของอังกฤษ GK เบน เอมอส
41 ธงชาติของนอร์เวย์ FW โจชัว คิง
42 ธงชาติของฝรั่งเศส FW พอล ป็อกบา
45 ธงชาติของอังกฤษ DF โอลิเวอร์ กิลล์
47 ธงชาติของอังกฤษ MF โอลิเวอร์ นอร์วูด
49 ธงชาติของอังกฤษ MF เรเวล มอร์ริสัน

ผู้เล่นที่ถูกยืมตัว

Note: ธงชาติที่ปรากฎบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่า ตามความเหมาะสม เพราะบางผู้เล่นอาจถือสองสัญชาติ


ผู้เล่นชุดเยาวชน

Current Academy players


Player DOB Position International caps Previous club Joined United
Young Professionals
ธงชาติของอังกฤษ Nicky Ajose 7 ตุลาคม ค.ศ. 1991 (19 ปี) FW Capped at Under-16 level
Flag of Ireland Robert Brady 14 มกราคม ค.ศ. 1992 (19 ปี) MF Capped at Under-21 level St Kevin's Boys
ธงชาติของอังกฤษ Reece Brown 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1991 (19 ปี) DF Capped at Under-19 level
ธงชาติของไอร์แลนด์เหนือ Conor Devlin 23 กันยายน ค.ศ. 1991 (19 ปี) GK Capped at Under-21 level
ธงชาติของอิตาลี Davide Petrucci 5 ตุลาคม ค.ศ. 1991 (19 ปี) MF Capped at Under-19 level Roma
ธงชาติของอังกฤษ Scott Wootton 12 กันยายน ค.ศ. 1991 (19 ปี) DF Capped at Under-17 level Liverpool
2nd Year Scholars (players born between 1 September 1991 and 31 August 1992)
ธงชาติของอังกฤษ John Cofie 21 มกราคม ค.ศ. 1993 (18 ปี) FW Capped at Under-17 level Burnley[12]
ธงชาติของอังกฤษ Larnell Cole 9 มีนาคม ค.ศ. 1993 (18 ปี) MF
ธงชาติของอิตาลี Michele Fornasier 22 สิงหาคม ค.ศ. 1993 (17 ปี) DF Capped at Under-16 level Fiorentina[13] July 2009
ธงชาติของอังกฤษ Ezekiel Fryers 9 กันยายน ค.ศ. 1992 (18 ปี) DF Capped at Under-19 level
ธงชาติของอังกฤษ Sam Johnstone 25 มีนาคม ค.ศ. 1993 (18 ปี) GK Capped at Under-19 level
ธงชาติของอังกฤษ Will Keane 11 มกราคม ค.ศ. 1993 (18 ปี) FW Capped at Under-19 level
ธงชาติของอังกฤษ Jesse Lingard 15 ธันวาคม ค.ศ. 1992 (18 ปี) FW Capped at Under-17 level
ธงชาติของอิตาลี Alberto Massacci 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1993 (18 ปี) DF Empoli July 2009
Flag of Ireland Sean McGinty 11 สิงหาคม ค.ศ. 1993 (18 ปี) DF Capped at Under-19 level Charlton Athletic July 2009
ธงชาติของอังกฤษ Ravel Morrison 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1993 (18 ปี) MF Capped at Under-17 level
ธงชาติของฝรั่งเศส Paul Pogba 15 มีนาคม ค.ศ. 1993 (18 ปี) MF Capped at Under-18 level Le Havre[14] July 2009
ธงชาติของอังกฤษ Tom Thorpe 13 มกราคม ค.ศ. 1993 (18 ปี) DF Capped at Under-17 level
ธงชาติของอังกฤษ Ryan Tunnicliffe 30 ธันวาคม ค.ศ. 1992 (18 ปี) MF/DF Capped at Under-17 level
Academy Students
ธงชาติของอังกฤษ Luke Giverin 4 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1993 (18 ปี) DF
Flag of Ireland Michael Keane 11 มกราคม ค.ศ. 1993 (18 ปี) DF Capped at Under-17 level
1st Year Scholars (players born between 1 September 1992 and 31 August 1993)
ธงชาติของอังกฤษ Tyler Blackett 2 เมษายน ค.ศ. 1994 (17 ปี) DF Capped at Under-16 level July 2010
Flag of Ireland Joe Coll 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1994 (17 ปี) GK Capped at Under-17 level July 2010
ธงชาติของเบลเยียม Charni Ekangamene 16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1994 (17 ปี) FW Capped at Under-16 level Royal Antwerp March 2009
ธงชาติของอังกฤษ Luke Hendrie 27 สิงหาคม ค.ศ. 1994 (16 ปี) MF Capped at Under-16 level July 2010
ธงชาติของเวลส์ Tom Lawrence 13 มกราคม ค.ศ. 1994 (17 ปี) FW Capped at Under-17 level July 2010
ธงชาติของไอร์แลนด์เหนือ Luke McCullough 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1994 (17 ปี) DF Capped at Under-17 level July 2010
Unknown status
ธงชาติของอังกฤษ Jack Barmby 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1994 (16 ปี) MF Capped at Under-16 level
ธงชาติของออสเตรเลีย Liam Jacob 18 สิงหาคม ค.ศ. 1994 (16 ปี) GK Liverpool July 2010[15]
Flag of the Netherlands Gyliano van Velzen 14 เมษายน ค.ศ. 1994 (17 ปี) MF Capped at Under-17 level Ajax August 2010[16]
ธงชาติของเบลเยียม Marnick Vermijl 13 มกราคม ค.ศ. 1992 (19 ปี) DF Capped at Under-18 level Standard Liège July 2010[17]

ผู้เล่นที่โด่งดัง

ผู้เล่นซึ่งลงสนามตั้งแต่ 1 ครั้งขึ้นไป (รวมทั้งในฐานะตัวสำรอง) อย่างไรก็ตาม รวมผู้เล่นบางคนที่เล่นน้อยกว่า 100 ครั้งแต่มีส่วนสำคัญต่อประวัติศาสตร์ของสโมสรด้วย (เช่น เลียม วีแลน)

ผู้เล่นเรียงลำดับตามวันที่ลงสนามให้สโมสรครั้งแรกของพวกเขา จำนวนครั้งและประตูนับเฉพาะการแข่งขันของทีมชุดแรกเท่านั้น รวมการแข่งขันในเวลาสงครามด้วย

สถิติ ณ วันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2551 (ค.ศ. 2008)

ชื่อ สัญชาติ ตำแหน่ง เล่นให้แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด จำนวนครั้ง (ตัวสำรอง) รวม ประตู
อัลฟ์ ฟาร์แมน ธงชาติของอังกฤษ FW 1889-1895 121 (0) 121 53
วิลลี่ สจวร์ต ธงชาติของสกอตแลนด์ HB 1890-1895 149 (0) 149 23
บ๊อบ โดนัลด์สัน ธงชาติของสกอตแลนด์ FW 1892-1897 147 (0) 147 66
เฟรด อีเรนทซ์ ธงชาติของสกอตแลนด์ LB 1892-1902 303 (0) 303 9
โจ แคสสิดี้ ธงชาติของสกอตแลนด์ FW 1893, 1895-1900 167 (0) 167 99
เจมส์ แมคนอท ธงชาติของสกอตแลนด์ HB 1893-1898 157 (0) 157 12
ดิค สมิธ ธงชาติของอังกฤษ FW/LW 1894-1898, 1900-1901 100 (0) 100 37
วอลเตอร์ คาร์ทไรท์ ธงชาติของอังกฤษ HB 1895-1905 257 (0) 257 8
แฮร์รี่ สแตฟฟอร์ด ธงชาติของอังกฤษ RB 1896-1903 200 (0) 200 1
วิลเลียม ไบรแอนท์ ธงชาติของอังกฤษ FW 1896-1900 127 (0) 127 33
แฟรงค์ บาร์เร็ทท์ ธงชาติของสกอตแลนด์ GK 1896-1900 132 (0) 132 0
บิลลี่ มอร์แกน ธงชาติของอังกฤษ HB 1897-1903 152 (0) 152 7
บิลลี่ กริฟฟิทส์ ธงชาติของอังกฤษ HB 1899-1905 175 (0) 175 30
อัลฟ์ สโคฟิลด์ ธงชาติของอังกฤษ FW 1900-1907 179 (0) 179 35
วินซ์ เฮยส์ ธงชาติของอังกฤษ RB 1901-1907, 1908-1910 128 (0) 128 2
แจ็ค เพดดี้ ธงชาติของสกอตแลนด์ FW 1902-1903, 1904-1907 121 (0) 121 58
อเล็กซ์ ดาวนี่ ธงชาติของสกอตแลนด์ HB 1902-1909 191 (0) 191 14
อเล็กซ์ เบลล์ ธงชาติของสกอตแลนด์ HB 1903-1913 309 (0) 309 10
บ็อบ บอนทรอน ธงชาติของสกอตแลนด์ RB 1903-1907 134 (0) 134 3
แฮร์รี่ โมเจอร์ ธงชาติของอังกฤษ GK 1903-1912 266 (0) 266 0
ดิค ดั๊กเวิร์ธ ธงชาติของอังกฤษ HB 1903-1915 254 (0) 254 11
ชาร์ลี โรเบิร์ตส์ ธงชาติของอังกฤษ HB 1904-1913 302 (0) 302 23
ดิค โฮลเดน ธงชาติของอังกฤษ RB 1905-1914 117 (0) 117 0
แจ็ค พิคเค็น ธงชาติของสกอตแลนด์ FW 1905-1911 122 (0) 122 46
จอร์จ วอลล์ ธงชาติของอังกฤษ LW 1906-1915 319 (0) 319 100
บิลลี่ เมเรดิธ ธงชาติของเวลส์ RW 1907-1921 335 (0) 335 36
แซนดี้ เทิร์นบูล ธงชาติของสกอตแลนด์ FW 1907-1915 247 (0) 247 101
จอร์จ สเตซี่ย์ ธงชาติของอังกฤษ LB 1907-1915 270 (0) 270 9
แฮโรลด์ ฮอลซ์ ธงชาติของอังกฤษ FW 1908-1912 125 (0) 125 56
อาเธอร์ วอลเลย์ ธงชาติของอังกฤษ HB 1909-1920 106 (0) 106 6
อีนอช เวสต์ ธงชาติของอังกฤษ FW 1910-1916 181 (0) 181 80
โรเบิร์ต บีล ธงชาติของอังกฤษ GK 1912-1919 112 (0) 112 0
แจ็ค มิว ธงชาติของอังกฤษ GK 1912-1926 199 (0) 199 0
แลล ฮิลดิทช์ ธงชาติของอังกฤษ HB 1919-1932 322 (0) 322 7
แจ็ค ซิลค็อค ธงชาติของอังกฤษ LB 1919-1934 449 (0) 449 2
โจ สเปนซ์ ธงชาติของอังกฤษ FW 1919-1933 510 (0) 510 168
ชาร์ลี มัวร์ ธงชาติของอังกฤษ RB 1919-1921, 1922-1931 328 (0) 328 0
จอห์น กริมวู้ด ธงชาติของอังกฤษ HB 1919-1927 205 (0) 205 8
เท็ดดี้ พาร์ทริดจ์ ธงชาติของอังกฤษ FW 1920-1929 160 (0) 160 18
อัลฟ์ สจวร์ต ธงชาติของอังกฤษ GK 1920-1932 326 (0) 326 0
เรย์ เบนเนียน ธงชาติของอังกฤษ HB 1921-1932 301 (0) 301 3
อาเธอร์ ลอชเฮด ธงชาติของสกอตแลนด์ FW 1921-1925 153 (0) 153 50
แฮร์รี่ โทมัส ธงชาติของเวลส์ FW 1922-1931 135 (0) 135 13
แฟรงค์ บาร์สัน ธงชาติของอังกฤษ HB 1922-1928 152 (0) 152 4
แฟรงค์ มันน์ ธงชาติของอังกฤษ HB 1923-1930 197 (0) 197 5
แฟรงค์ แมคเฟอร์สัน ธงชาติของอังกฤษ LW 1923-1928 175 (0) 175 52
ทอม โจนส์ ธงชาติของอังกฤษ FB 1924-1937 200 (0) 200 0
จิมมี่ แฮนสัน ธงชาติของอังกฤษ FW 1924-1931 147 (0) 147 52
แจ็ค วิลสัน ธงชาติของอังกฤษ HB 1926-1932 140 (0) 140 3
ฮิวจ์ แมคลีนาแฮน ธงชาติของอังกฤษ HB 1928-1937 116 (0) 116 12
แฮร์รี่ โรว์เลย์ ธงชาติของอังกฤษ FW 1928-1932, 1934-1937 180 (0) 180 55
ทอม รีด ธงชาติของสกอตแลนด์ FW 1929-1933 101 (0) 101 67
จอร์จ แมคแลชแลน ธงชาติของสกอตแลนด์ FW 1929-1933 116 (0) 116 4
แจ็ค เมลเลอร์ ธงชาติของอังกฤษ HB 1930-1937 122 (0) 122 0
ทอม แมนเลย์ ธงชาติของอังกฤษ HB 1930-1939 195 (0) 195 41
จอร์จ โวส ธงชาติของอังกฤษ HB 1933-1939 209 (0) 209 1
แจ็ค กริฟฟิธส์ ธงชาติของอังกฤษ LB 1934-1944 173 (0) 173 1
บิล แมคเคย์ ธงชาติของสกอตแลนด์ HB 1934-1940 182 (0) 182 15
จอร์จ มัทช์ ธงชาติของสกอตแลนด์ FW 1934-1937 120 (0) 120 49
โทมัส แบมฟอร์ด ธงชาติของเวลส์ FW 1934-1938 109 (0) 109 57
บิลลี่ ไบรแอนท์ ธงชาติของอังกฤษ FW 1934-1939 157 (0) 157 42
เจมส์ บราวน์ ธงชาติของสกอตแลนด์ HB 1935-1939 110 (0) 110 1
จอหน์นี่ แคเรย์ Flag of Ireland FB 1937-1953 344 (0) 344 17
แจ็ค โรว์เลย์ ธงชาติของอังกฤษ FW 1937-1955 424 (0) 424 211
สแตน เพียร์สัน ธงชาติของอังกฤษ FW 1937-1954 343 (0) 343 148
แจ็ค วอร์เนอร์ ธงชาติของเวลส์ HB 1938-1950 116 (0) 116 2
จอห์น แอสตัน ซีเนียร์ ธงชาติของอังกฤษ LB 1946-1954 284 (0) 284 30
อัลเลนบาย ชิลตัน ธงชาติของอังกฤษ HB 1946-1955 391 (0) 391 3
เฮนรี ค็อคเบิร์น ธงชาติของอังกฤษ HB 1946-1954 275 (0) 275 4
แจ็ค ครอมพ์ตัน ธงชาติของอังกฤษ GK 1946-1956 212 (0) 212 0
จิมมี่ ดีลานีย์ ธงชาติของสกอตแลนด์ RW 1946-1950 184 (0) 184 28
บิลลี่ แม็คเกล็น ธงชาติของอังกฤษ HB 1946-1952 122 (0) 122 2
ชาร์ลี มิทเท็น ธงชาติของอังกฤษ LW 1946-1952 162 (0) 162 61
จอห์น ดาวนี่ ธงชาติของสกอตแลนด์ FW 1949-1953 116 (0) 116 37
เรย์ วู้ด ธงชาติของอังกฤษ LW 1949-1958 208 (0) 208 0
ดอน กิ๊บสัน ธงชาติของอังกฤษ HB 1950-1955 115 (0) 115 0
มาร์ค โจนส์ ธงชาติของอังกฤษ HB 1950-19528 121 (0) 121 1
จอห์นนี่ เบอร์รี่ ธงชาติของอังกฤษ RW 1951-1958 276 (0) 276 45
แจ๊คกี้ บลานซ์ฟลาวเลอร์ ธงชาติของไอร์แลนด์เหนือ HB 1951-1958 117 (0) 117 27
โรเจอร์ ไบรน์ ธงชาติของอังกฤษ LB 1951-1958 280 (0) 280 20
เดวิด เพ็กก์ ธงชาติของอังกฤษ LW 1952-1958 150 (0) 150 28
บิลล์ โฟ้กส์ ธงชาติของอังกฤษ HB/RB 1952-1970 685 (3) 688 9
ทอมมี่ เทย์เลอร์ ธงชาติของอังกฤษ FW 1953-1958 191 (0) 191 131
เลียม วีแลน Flag of Ireland FW 1953-1958 98 (0) 98 52
ดันแคน เอดเวิร์ด ธงชาติของอังกฤษ HB 1953-1958 177 (0) 177 21
เดนนิส ไวโอเล็ต ธงชาติของอังกฤษ FW 1953-1962 293 (0) 293 179
เฟรดดี้ กู๊ดวิน ธงชาติของอังกฤษ HB 1954-1960 107 (0) 107 8
อัลเบิร์ต สแคนลอน ธงชาติของอังกฤษ LW 1954-1960 127 (0) 127 35
เอ็ดดี้ คอลแมน ธงชาติของอังกฤษ HB 1955-1958 108 (0) 108 2
รอนนี่ โคพ ธงชาติของอังกฤษ HB 1956-1961 106 (0) 106 2
บ็อบบี้ ชาร์ลตัน ธงชาติของอังกฤษ FW 1956-1973 756 (2) 758 249
เดวิส แกสเคลล์ ธงชาติของอังกฤษ GK 1956-1967 119 (0) 119 0
แฮร์รี่ เกร็กก์ ธงชาติของไอร์แลนด์เหนือ GK 1957-1966 247 (0) 247 0
เชย์ เบร็นแนน Flag of Ireland RB 1958-1970 358 (1) 359 6
อัลเบิร์ต ควิกซอลล์ ธงชาติของอังกฤษ FW 1958-1963 183 (0) 183 56
จอห์นนี่ กิลส์ Flag of Ireland CM 1959-1963 115 (0) 115 13
น็อบบี้ สไตลส์ ธงชาติของอังกฤษ HB 1959-1971 394 (0) 394 19
มัวริซ เซ็ทเทอรส์ ธงชาติของอังกฤษ HB 1960-1964 194 (0) 194 14
โทนี่ ดันน์ Flag of Ireland FB 1960-1973 534 (1) 535 2
โนเอล แคนท์เวลล์ Flag of Ireland LB 1960-1967 146 (0) 146 8
เดวิด เฮิร์ด ธงชาติของสกอตแลนด์ FW 1961-1968 264 (1) 265 145
เดนิส ลอว์ ธงชาติของสกอตแลนด์ FW 1962-1973 398 (6) 404 237
เดวิด แซดเลอร์ ธงชาติของอังกฤษ หลายตำแหน่ง 1962-1973 328 (7) 335 27
แพ็ท ครีแรนด์ ธงชาติของสกอตแลนด์ HB 1963-1971 397 (0) 397 15
จอร์จ เบสต์ ธงชาติของไอร์แลนด์เหนือ FW/W 1963-1974 470 (0) 470 179
จอห์น คอนเนลลี่ ธงชาติของอังกฤษ FW 1964-1966 112 (1) 113 35
จอห์น ฟิทซ์แพทริค ธงชาติของสกอตแลนด์ RB 1965-1973 141 (6) 147 10
จอห์น แอสตัน ธงชาติของอังกฤษ LW 1965-1972 166 (21) 187 27
อเล็กซ์ สเต็ปนีย์ ธงชาติของอังกฤษ GK 1966-1979 539 (0) 539 2
ไบรอัน คิดด์ ธงชาติของอังกฤษ FW 1967-1974 257 (9) 266 70
ฟรานซิส เบิร์นส์ ธงชาติของสกอตแลนด์ LB 1967-1972 143 (13) 156 7
วิลลี่ มอร์แกน ธงชาติของสกอตแลนด์ RW 1968-1975 293 (3) 296 34
สตีฟ เจมส์ ธงชาติของอังกฤษ HB 1968-1975 160 (1) 161 4
แซมมี่ แมคอิลรอย ธงชาติของไอร์แลนด์เหนือ CM 1971-1982 391 (28) 419 71
มาร์ติน บั๊คคั่น ธงชาติของสกอตแลนด์ CB 1972-1983 456 (0) 456 4
เดวิด แมคครีรี่ ธงชาติของไอร์แลนด์เหนือ MF 1972-1979 57 (53) 110 8
อเล็กซ์ ฟอร์ซิธ ธงชาติของสกอตแลนด์ RB 1973-1978 116 (3) 119 5
ลู มาคาริ ธงชาติของสกอตแลนด์ MF/FW 1973-1984 374 (27) 401 97
เจอร์รี่ ดาลี่ Flag of Ireland CM 1973-1977 137 (5) 142 32
ไบรอัน กรีนฮอฟฟ์ ธงชาติของอังกฤษ CB 1973-1979 268 (3) 271 17
สจวร์ต ฮูสตัน ธงชาติของสกอตแลนด์ LB 1974-1980 248 (2) 250 16
สจวร์ต เพียร์สัน ธงชาติของอังกฤษ FW 1974-1979 179 (1) 180 66
อาเธอร์ อัลบิสตัน ธงชาติของสกอตแลนด์ LB 1974-1988 467 (18) 485 7
สตีฟ คอปเปลล์ ธงชาติของอังกฤษ RW 1975-1983 393 (3) 396 70
จิมมี่ นิโคลล์ ธงชาติของไอร์แลนด์เหนือ RB 1975-1982 235 (13) 248 6
กอร์ดอน ฮิลล์ ธงชาติของอังกฤษ LW 1975-1978 133 (1) 134 51
จิมมี่ กรีนฮอฟฟ์ ธงชาติของอังกฤษ FW 1976-1980 119 (4) 123 36
แอชลี่ย์ กริมส์ Flag of Ireland LB 1977-1983 77 (30) 107 11
โจ จอร์แดน ธงชาติของสกอตแลนด์ FW 1978-1981 125 (1) 126 41
กอร์ดอน แม็คควีน ธงชาติของสกอตแลนด์ CB 1978-1985 229 (0) 229 26
แกรี่ เบลี่ย์ ธงชาติของอังกฤษ GK 1978-1987 375 (0) 375 0
มิคกี้ โทมัส ธงชาติของเวลส์ LW 1978-1981 110 (0) 110 15
เควิน มอแรน Flag of Ireland CB 1979-1988 284 (5) 289 24
เรย์ วิลกิ้นส์ ธงชาติของอังกฤษ CM 1979-1984 191 (3) 194 10
ไมค์ ดั๊กบิวรี่ ธงชาติของอังกฤษ RB 1980-1990 345 (33) 378 7
จอห์น กิดแมน ธงชาติของอังกฤษ RB 1981-1986 116 (4) 120 4
แฟรงค์ สเตเปิลตัน Flag of Ireland FW 1981-1987 267 (21) 288 78
เรมี่ มอส ธงชาติของอังกฤษ CM 1981-1988 188 (11) 199 12
ไบรอัน ร็อบสัน ธงชาติของอังกฤษ CM 1981-1994 437 (24) 461 99
นอร์แมน ไวท์ไซด์ ธงชาติของไอร์แลนด์เหนือ FW/CM 1982-1989 256 (18) 274 67
พอล แม็คกรัธ Flag of Ireland CB 1982-1989 192 (7) 199 16
มาร์ค ฮิวจ์ส ธงชาติของเวลส์ FW 1983-1986, 1988-1995 453 (14) 467 163
แกรม ฮอกก์ ธงชาติของสกอตแลนด์ CB 1984-1988 108 (2) 110 1
เคลย์ตัน แบล็คมอร์ ธงชาติของเวลส์ หลายตำแหน่ง 1984-1994 201 (44) 245 26
เจสเปอร์ โอลเซ่น ธงชาติของเดนมาร์ก LW 1984-1988 149 (27) 176 24
กอร์ดอน สตรั๊คคั่น ธงชาติของสกอตแลนด์ RM 1984-1989 195 (6) 201 38
ปีเตอร์ ดาเวนพอร์ท ธงชาติของอังกฤษ FW 1986-1988 83 (23) 106 26
ไบรอัน แม็คแคลร์ ธงชาติของสกอตแลนด์ FW 1987-1998 398 (73) 471 127
สตีฟ บรูซ ธงชาติของอังกฤษ CB 1987-1996 411 (3) 414 51
ลี มาร์ติน ธงชาติของอังกฤษ LB 1988-1994 84 (25) 109 2
ลี ชาร์ป ธงชาติของอังกฤษ LW 1988-1996 213 (50) 263 36
มาล โดนากี ธงชาติของไอร์แลนด์เหนือ CB/LB 1988-1992 98 (21) 119 0
ไมค์ ฟีแลน ธงชาติของอังกฤษ หลายตำแหน่ง 1989-1994 127 (19) 146 3
นีล เว็บบ์ ธงชาติของอังกฤษ CM 1989-1992 105 (5) 110 11
แกรี่ พัลลิสเตอร์ ธงชาติของอังกฤษ CB 1989-1998 433 (4) 437 15
พอล อินซ์ ธงชาติของอังกฤษ CM 1989-1995 276 (5) 281 29
เดนนิส เออร์วิน Flag of Ireland FB 1990-2002 511 (18) 529 33
ไรอัน กิ๊กส์ ธงชาติของเวลส์ LW 1991- 740 (128) 868 158
อังเดร แคนเชลสกี้ส์ Flag of the Soviet Union/ธงชาติของรัสเซีย RW 1991-1995 132 (29) 161 36
พอล ปาร์คเกอร์ ธงชาติของอังกฤษ RB 1991-1996 137 (9) 146 2
ปีเตอร์ ชไมเคิ่ล ธงชาติของเดนมาร์ก GK 1991-1999 398 (0) 398 1
แกรี่ เนวิลล์ ธงชาติของอังกฤษ RB 1992-2011 566 (36) 602 7
เดวิด เบ็คแฮม ธงชาติของอังกฤษ RM 1992-2003 356 (38) 394 85
นิคกี้ บัตต์ ธงชาติของอังกฤษ CM 1992-2004 307 (79) 386 26
เอริค คันโตน่า ธงชาติของฝรั่งเศส FW 1992-1997 184 (1) 185 82
รอย คีน Flag of Ireland CM 1993-2005 458 (22) 480 51
เดวิด เมย์ ธงชาติของอังกฤษ CB 1994-2003 98 (20) 118 8
พอล สโคลส์ ธงชาติของอังกฤษ CM 1994- 548 (121) 669 150
แอนดรูว์ โคล ธงชาติของอังกฤษ FW 1995-2001 231 (44) 275 121
ฟิล เนวิลล์ ธงชาติของอังกฤษ หลายตำแหน่ง 1995-2005 301 (85) 386 8
รอนนี่ ยอห์นเซ่น ธงชาติของนอร์เวย์ CB/CM 1996-2002 131 (19) 150 9
โอเล่ กุนนาร์ โซลชา ธงชาติของนอร์เวย์ FW 1996-2007 216 (150) 366 126
เท็ดดี้ เชอริงแฮม ธงชาติของอังกฤษ FW 1997-2001 101 (52) 153 46
เฮนนิ่ง เบิร์ก ธงชาติของนอร์เวย์ CB 1997-2000 81 (22) 103 3
เวสต์ บราวน์ ธงชาติของอังกฤษ RB/CB 1998- 313 (49) 362 5
ยาป สตัม Flag of the Netherlands CB 1998-2001 125 (2) 127 1
ดไวท์ ยอร์ก ธงชาติของตรินิแดดและโตเบโก FW 1998-2002 120 (32) 152 66
ควินตัน ฟอร์จูน ธงชาติของแอฟริกาใต้ LW/LB 1999-2006 88 (38) 126 11
มิคาเอล ซิลแวสต์ ธงชาติของฝรั่งเศส LB/CB 1999-2008 326 (35) 361 10
จอห์น โอเชีย Flag of Ireland หลายตำแหน่ง 1999- 294 (92) 386 15
ฟาเบียง บาร์กเตซ ธงชาติของฝรั่งเศส GK 2000-2004 139 (0) 139 0
รุด ฟาน นิสเตลรอย Flag of the Netherlands FW 2001-2006 200 (19) 219 150
ริโอ เฟอร์ดินานด์ ธงชาติของอังกฤษ CB 2002- 346 (5) 351 7
ดาร์เร็น เฟล็ตเชอร์ ธงชาติของสกอตแลนด์ CM/RM 2003- 231 (58) 289 21
คริสเตียโน โรนัลโด ธงชาติของโปรตุเกส/ธงชาติของมาเดรา W/FW 2003-2009 244 (48) 292 118
หลุยส์ ซาฮา ธงชาติของฝรั่งเศส W/FW 2004-2008 76 (48) 124 42
เวย์น รูนีย์ ธงชาติของอังกฤษ FW 2004- 279 (33) 312 143
เอ็ดวิน ฟาน เดอร์ ซาร์ Flag of the Netherlands GK 2005- 255 (0) 255 0
ปาร์ค จีซอง ธงชาติของเกาหลีใต้ MF 2005- 119 (50) 169 22
ปาทริส เอวรา ธงชาติของฝรั่งเศส LB 2006- 215 (19) 234 3
เนมันยา วิดิช ธงชาติของเซอร์เบีย CB 2006- 216 (7) 223 17
ไมเคิล คาร์ริค ธงชาติของอังกฤษ CM 2006- 187 (35) 222 17

เกียรติประวัติ

ตัวเลขฤดูกาลตามปีค.ศ.

  • 1907-08, 1910-11, 1951-52, 1955-56, 1956-57, 1964-65, 1966-67, 1992-93, 1993-94, 1995-96, 1996-97, 1998-99, 1999-2000, 2000-01, 2002-03, 2006-07, 2007-08, 2008-09, 2010-11
  • 1935-36, 1974-75
  • 1909, 1948, 1963, 1977, 1983, 1985, 1990, 1994, 1996, 1999, 2004
  • 1992, 2006, 2009, 2010
  • 1968, 1999, 2008
  • 1991
  • อินเตอร์คอนติเนนตัลคัพ: 1
  • 1999
  • ฟีฟ่าคลับเวิลด์คัพ: 1
  • 2008
  • ยูโรเปี้ยนซูเปอร์คัพ: 1
  • 1991
  • แชริตี้ชิลด์/คอมมูนิตี้ชิลด์: 17 (13 แชมป์เดี่ยว, 4 แชมป์ร่วม*)
  • 1908, 1911, 1952, 1956, 1957, 1965*, 1967*, 1977*, 1983, 1990*, 1993, 1994, 1996, 1997, 2003, 2007, 2008,2010
  • BBC Sports Personality of the Year Team Award
  • 1968 & 1999

สถิติที่สำคัญของสโมสร

(สถิติล่าสุดเมื่อ 10 พฤษภาคม 2552)

สถิติลงเล่นมากที่สุด

(สัญลักษณ์ ↓ แสดงถึงกำลังเล่นอยู่ในสโมสร)

อันดับ รายชื่อ ฤดูกาล ลงเล่น ประตู
1 ธงชาติของเวลส์ ไรอัน กิ๊กส์ 1990 - ปัจจุบัน 836 154
2 ธงชาติของอังกฤษ บ็อบบี้ ชาร์ลตัน 1953 - 1973 758 249
3 ธงชาติของอังกฤษ บิลล์ โฟ้กส์ 1950 - 1970 688 9
4 ธงชาติของอังกฤษ พอล สโคลส์ 1994 - ปัจจุบัน 641 149
5 ธงชาติของอังกฤษ แกรี่ เนวิลล์ 1992 - 2011 597 7
6 ธงชาติของอังกฤษ อเล็กซ์ สเต็ปนี่ย์ 1966 - 1978 539 2
7 Flag of Ireland โทนี่ ดัน 1960 - 1973 535 2
8 Flag of Ireland เดนิส เออร์วิน 1990 - 2002 529 33
9 ธงชาติของอังกฤษ โจ สเปนซ์ 1919 - 1933 510 168
10 ธงชาติของสกอตแลนด์ อาเธอร์ อัลบิซตัน 1974 - 1988 485 7

สถิติทำประตูสูงสุด

อันดับ รายชื่อ ฤดูกาล ลงเล่น ประตู
1 ธงชาติของอังกฤษ บ็อบบี้ ชาร์ลตัน 1953 - 1973 758 249
2 ธงชาติของสกอตแลนด์ เดนิส ลอว์ 1962 - 1973 404 237
3 ธงชาติของอังกฤษ แจ็ก โรว์ลีย์ 1937 - 1955 424 211
4 = ธงชาติของอังกฤษ เดนนิส ไวโอเล็ต 1949 - 1962 293 179
4 = ธงชาติของไอร์แลนด์เหนือ จอร์จ เบสต์ 1963 - 1974 470 179
6 ธงชาติของอังกฤษ โจ สเปนซ์ 1919 - 1933 510 168
7 ธงชาติของเวลส์ มาร์ค ฮิวจ์ส 1980 - 1986, 1988 - 1995 467 163
8 ธงชาติของเวลส์ ไรอัน กิ๊กส์ 1990 - ปัจจุบัน 836 154
9 Flag of the Netherlands รุด ฟาน นิสเตลรอย 2001 - 2006 219 150
10 ธงชาติของอังกฤษ พอล สโคลส์ 1994 - ปัจจุบัน 641 149

สถิติของสโมสร



 

   รายชื่อนักเตะทีม แมนยู Manchester United
ประจำฤดูกาล 2010-2011  

หมายเลข
ตำแหน่ง
ชื่อไทย
ชื่ออังกฤษ
จำนวนประตู
 1 
 GOA 
 เอ็ดวิน ฟาน เดอร์ ซาร์ 
 Edwin Van der Sar 
0
 3 
 DEF 
 ปาทริซ เอฟร่า 
 Patrice Evra 
0
 4 
 MID 
 โอเว่น ฮาร์กรีฟส์ 
 Owen Hargreaves 
0
 5 
 DEF 
 ริโอ เฟอร์ดินานด์ 
 Rio Ferdinand 
0
 6 
 DEF 
 เวส บราวน์ 
 Wes Brown 
0
 7 
 FOR 
 ไมเคิล โอเว่น 
 Michael Owen 
0
 8 
 MID 
 อันแดร์สัน 
 Anderson 
0
 9 
 FOR 
 ดิมิทาร์ เบอร์บาตอฟ 
 Dimitar Berbatov 
0
 10 
 FOR 
 เวย์น รูนีย์ 
 Wayne Rooney 
1
 11 
 MID 
 ไรอัน กิ๊กส์ 
 Ryan Giggs 
0
 12 
 DEF 
 คริส สมอลลิ่ง 
 Chris Smalling 
0
 13 
 MID 
 พาร์ค จี ซอง 
 Ji-sung Park 
0
 14 
 FOR 
 ฮาเวียร์ เฮอร์นานเดซ 
 Javier Hernandez 
0
 15 
 DEF 
 เนมานย่า วิดิช 
 Nemanja Vidic 
0
 16 
 MID 
 ไมเคิล คาร์ริค 
 Michael Carrick 
0
 17 
 MID 
 หลุยส์ คาร์ลอส นานี่ 
 Luís Carlos Nani 
0
 18 
 MID 
 แอชลีย์ ยัง 
 Ashley Young 
0
 20 
 DEF 
 ฟาบิโอ ดา ซิลวา 
 Fabio da Silva 
0
 21 
 DEF 
 ราฟาเอล ดา ซิลวา 
 Rafael da Silva 
0
 22 
 DEF 
 จอห์น โอเช 
 John O'Shea 
0
 23 
 DEF 
 จอนนี่ อีแวนส์ 
 Jonny Evans 
0
 24 
 MID 
 ดาร์เรน เฟล็ตเชอร์ 
 Darren Fletcher 
0
 25 
 MID 
 อันโตนิโอ วาเลนเซีย 
 Antonio Valencia 
0
 26 
 FOR 
 กาเบรียล โอแบกด็อง 
 Gabriel Obertan 
0
 27 
 FOR 
 เฟเดริโก้ มาเคด้า 
 Federico Macheda 
0
 28 
 MID 
 ดาร์รอน กิ๊บสัน 
 Darron Gibson 
0
 29 
 GOA 
 โทมัส คุสแซ็ค 
 Tomasz Kuszczak 
0
 31 
 DEF 
 คอลลี่ อีแวนส์ 
 Corry Evans 
0
 33 
 FOR 
 เบเบ้ 
 Bebe 
0
 34 
 GOA 
 อันเดอร์ส ลินเดการ์ด 
 Anders Lindegaard 
0
 37 
 MID 
 ร็อบบี้ บราดี้ 
 Robbie Brady 
0
 40 
 GOA 
 เบน อามอส 
 Ben Amos 
0
 42 
 MID 
 แมกนุส อิเกรม 
 Magnus Eikrem 
0
 44 
 DEF 
 โจ ดัดเจียน 
 Joe Dudgeon 
0
 45 
 DEF 
 โอลิเวอร์ กิลล์ 
 Oliver Gill 
0

 


โปรแกรมการแข่งขันของแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 2011-2012

สิงหาคม 

  นัดที่ 1 

14/08/2011

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

เวสต์บรอมวิช http://www.siamsport.co.th/TeamLogo/S425.jpg 

Vs 

http://www.siamsport.co.th/TeamLogo/S001.jpgแมนฯ ยูไนเต็ด 

22:00

 

นัดที่ 2

22/08/2011

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

แมนฯ ยูไนเต็ด http://www.siamsport.co.th/TeamLogo/S001.jpg 

Vs 

http://www.siamsport.co.th/TeamLogo/S017.jpgสเปอร์ส 

02:00

 

นัดที่ 3

28/08/2011

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

แมนฯ ยูไนเต็ด http://www.siamsport.co.th/TeamLogo/S001.jpg 

Vs 

http://www.siamsport.co.th/TeamLogo/S004.jpgอาร์เซน่อล 

22:00

 

นัดที่ 4

10/09/2011

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

โบลตัน http://www.siamsport.co.th/TeamLogo/S008.jpg 

Vs 

http://www.siamsport.co.th/TeamLogo/S001.jpgแมนฯ ยูไนเต็ด 

23:30

 

นัดที่ 5

18/09/2011

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

แมนฯ ยูไนเต็ด http://www.siamsport.co.th/TeamLogo/S001.jpg 

Vs 

http://www.siamsport.co.th/TeamLogo/S010.jpgเชลซี 

22:00

 

นัดที่ 6

24/09/2011

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

สโต๊ค ซิตี้ http://www.siamsport.co.th/TeamLogo/S019.jpg 

Vs 

http://www.siamsport.co.th/TeamLogo/S001.jpgแมนฯ ยูไนเต็ด 

23:30

 

 

 นัดที่ 7

01/10/2011

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

แมนฯ ยูไนเต็ด http://www.siamsport.co.th/TeamLogo/S001.jpg 

Vs 

http://www.siamsport.co.th/TeamLogo/S064.jpgนอริช ซิตี้ 

21:00

 

นัดที่ 8

15/10/2011

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

ลิเวอร์พูล http://www.siamsport.co.th/TeamLogo/S002.jpg 

Vs 

http://www.siamsport.co.th/TeamLogo/S001.jpgแมนฯ ยูไนเต็ด 

18:45

 

นัดที่ 9

23/10/2011

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

แมนฯ ยูไนเต็ด http://www.siamsport.co.th/TeamLogo/S001.jpg 

Vs 

http://www.siamsport.co.th/TeamLogo/S003.jpgแมนฯ ซิตี้ 

19:30

 

นัดที่  10

29/10/2011

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

เอฟเวอร์ตัน http://www.siamsport.co.th/TeamLogo/S011.jpg 

Vs 

http://www.siamsport.co.th/TeamLogo/S001.jpgแมนฯ ยูไนเต็ด 

18:00

 

 

 กันยายน 

นัดที่11

10/09/2011

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

โบลตัน

Vs 

แมนฯ ยูไนเต็ด

23:30

 

นัดที่12

 

18/09/2011

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

แมนฯ ยูไนเต็ด

Vs 

เชลซี

22:00

 

นัดที่13

 

24/09/2011

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

สโต๊ค ซิตี้

Vs 

แมนฯ ยูไนเต็ด

23:30


ตุลาคม

 

นัดที่14


01/10/2011

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

แมนฯ ยูไนเต็ด

Vs 

นอริช ซิตี้

21:00

 

นัดที่15

15/10/2011

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

ลิเวอร์พูล

Vs 

แมนฯ ยูไนเต็ด

18:45

 

นีดที่16

23/10/2011

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

แมนฯ ยูไนเต็ด

Vs 

แมนฯ ซิตี้

19:30

 

นัดที่17

 

29/10/2011

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

เอฟเวอร์ตัน

Vs 

แมนฯ ยูไนเต็ด

18:00

 

พฤศจิกายน

นัดที่18

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

แมนฯ ยูไนเต็ด

Vs 

ซันเดอร์แลนด์

22:00

 

นัดที่19

19/11/2011

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

สวอนซี

Vs 

แมนฯ ยูไนเต็ด

00:30

 

นัดที่20

 

26/11/2011

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

แมนฯ ยูไนเต็ด

Vs 

นิวคาสเซิ่ล

22:00

 

 ธันวาคม 

 นัดที่21  

03/12/2011

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

แอสตัน วิลล่า

Vs 

มนฯ ยูไนเต็ด

22:00

 

 

นัดที่22

10/12/2011

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

แมนฯ ยูไนเต็ด

Vs 

วูล์ฟแฮมป์ตัน

22:00

 

นัดที่23

 

17/12/2011

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

ควีนส์ปาร์ค

Vs 

แมนฯ ยูไนเต็ด

22:00

 

 

นัดที่24

21/12/2011

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

ฟูแล่ม

Vs 

แมนฯ ยูไนเต็ด

03:00

 

นัดที่25

 

 

26/12/2011

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

แมนฯ ยูไนเต็ด

Vs 

วีแกน

22:00


 

นัดที่26

31/12/2011

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

แมนฯ ยูไนเต็ด

Vs 

แบล็คเบิร์น

22:00

 

มกราคม

 

นัดที่27
  

03/01/2012

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

นิวคาสเซิ่ล

Vs 

แมนฯ ยูไนเต็ด

02:45

 

 

นัดที่28

14/01/2012

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

แมนฯ ยูไนเต็ด

Vs 

โบลตัน

22:00

 

นัที่29

21/01/2012

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

อาร์เซน่อล

Vs 

แมนฯ ยูไนเต็ด

22:00

 

นัดที่30

 

31/01/2012

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

แมนฯ ยูไนเต็ด

Vs 

สโต๊ค ซิตี้

03:00


 

กุมภาพันธ์ 

 นัดที่31

04/02/2012

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

เชลซี

Vs 

แมนฯ ยูไนเต็ด

22:00

 

นัดที่32

 

11/02/2012

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

แมนฯ ยูไนเต็ด

Vs 

ลิเวอร์พูล

22:00

 

นัดที่33

 

25/02/2012

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

นอริช ซิตี้

Vs 

แมนฯ ยูไนเต็ด

22:00


มีนาคม 

นัดที่34
  

03/03/2012

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

สเปอร์ส

Vs 

แมนฯ ยูไนเต็ด

22:00

 

 

นัดที่35

 

10/03/2012

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

แมนฯ ยูไนเต็ด

Vs 

เวสต์บรอมวิช

22:00

 

นัดที่36

 

 

17/03/2012

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

วูล์ฟแฮมป์ตัน

Vs 

แมนฯ ยูไนเต็ด

22:00

 

 

นัดที่37

24/03/2012

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

แมนฯ ยูไนเต็ด

Vs 

ฟูแล่ม

22:00

 

 

นัดที่38

31/03/2012

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

แบล็คเบิร์น

Vs 

แมนฯ ยูไนเต็ด

21:00


 

เมษายน

 

นัดที่39

07/04/2012

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

แมนฯ ยูไนเต็ด

Vs 

ควีนส์ปาร์ค

21:00

 

 

นัดที่40

09/04/2012

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

วีแกน

Vs 

แมนฯ ยูไนเต็ด

01:45

 

นัดที่41

 

14/04/2012

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

แมนฯ ยูไนเต็ด

Vs 

แอสตัน วิลล่า

21:00

 

นักที่42

 

21/04/2012

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

แมนฯ ยูไนเต็ด

Vs 

เอฟเวอร์ตัน

21:00

 

นัดที่43

 

 

28/04/2012

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

แมนฯ ซิตี้

Vs 

แมนฯ ยูไนเต็ด

21:00

 

 

พฤษภาคม

นัดที่44

05/05/2012

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

แมนฯ ยูไนเต็ด

Vs 

สวอนซี

21:00

 

 

นัดที่45

13/05/2012

เจ้าบ้าน 

VS 

ทีมเยือน 

เวลา 

ช่อง 

ซันเดอร์แลนด์

Vs 

แมนฯ ยูไนเต็ด



 

 

 


 

 

เซอร์ อเล็ก เฟอร์กูสัน : 10 สุดยอดการตัดสินใจ

เซอร์ อเล็ก เฟอร์กูสัน : 10 สุดยอดการตัดสินใจ


 
 

 

หาก ให้แฟนบอลหลาย ๆ คนช่วยกันนึกชื่อผู้จัดการทีมสโมสรฟุตบอลขึ้นมาสักหนึ่งชื่อที่ทำผลงานคุม ทีมได้เจิดจรัส เชื่อเหลือเกินว่าแฟนบอลคงมีชื่อของ เซอร์ อเล็กซ์ เฟอร์กูสัน บรมกุนซือชาวสกอตต์ อยู่ในลิสต์รายชื่อลำดับต้น ๆ แน่นอน เพราะ "ท่านเซอร์" สามารถกลั่นมันสมองสร้าง "ปีศาจแดง" ให้ขึ้นมาเป็นโคตรทีมแถวหน้าของโลก หลังจากใช้เวลาอยู่ในรั้ว โอลด์ แทร็ฟฟอร์ด ถึง 23 ปีด้วยกัน
 
แน่นอนการใช้ เวลาคุมทีม ๆ หนึ่งได้นานถึงขนาดที่ว่าถ้าเลี้ยงลูกก็คงโตเป็น...หนุ่มแล้ว "เซอร์เฟอร์กี้" ต้องเคยครุ่นคิดตัดสินใจไปนับครั้งไม่ถ้วน ซึ่งผลของตัดสินใจย่อมถูกบ้างผิดบ้าง แต่ที่ผู้เขียนนำมาให้อ่านในวันนี้ ได้มาจากเว็บไซต์ของ "เดอะ ซัน" แท็บลอยด์ชอบเล่นข่าว ซึ่งจัดทำ 10 สุดยอดการตัดสินใจของ "ป๋ากี้" นับตั้งแต่ก้าวเท้าเข้ามาคุม "ผีแดง" ซึ่งมีเรื่องอะไรบ้างโปรดทอดสายตาดูด้านล่างก็จะได้ทราบอย่างแจ่มแจ้งแดงแจ๋ แน่นอนส่วนจะถูกใจหรือไม่โปรดใช้วิจารณญาณในการอ่านนะจ๊ะ

อันดับ 10 : ปฏิเสธรับงานคุมทัพ ท็อตแน่ม ฮ็อทสเปอร์ และ อาร์เซน่อล
" ปีศาจแดง" ไม่ได้เป็นสโมสรแรกในเมืองผู้ดีนะครับที่พยามยามจะฉุดกระชากลากถูผู้จัดการ ทีม อเบอร์ดีน นามว่า เฟอร์กี้ ที่กลายเป็นตำนานของสโมสรหลังพาทีมดังแห่งสกอตติช พรีเมียร์ลีก เถลิงแชมป์ ยูโรเปี้ยน คัพ วินเนอร์ส คัพ เมื่อปี 1983
เพราะก่อนหน้านี้ มี "ไก่เดือยทอง" ที่อยากให้ไปคุมทีมแทน ปีเตอร์ ชรีฟส์ และ อาร์เซน่อล ที่หวังจะให้เข้ามาทำทีมแทน ดอน ฮาวว์ แต่อย่างไรก็ตามเมื่อ "ผีแดง" มีการติดต่อเข้าไป เฟอร์กี้ ก็ตัดสินใจรับงานคุมทีมแทนที่ของ รอน แอ็ตกินสัน โดยทันทีเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน ปี 1986 

อันดับ 9 : การค้นพบสุดยอดดาวรุ่งอย่าง คริสเตียโน่ โรนัลโด้
หลัง จากเหล่าสาวก "เร้ด เดวิลส์" ต่างตกอยู่ในอาการหวาดกลัวว่าจะมีใครเข้ามาสืบทอดตำนานเสื้อแดงหมายเลข 7. แทนที่ เดวิด แบ็คแฮม ที่โดนฤทธิ์สตั๊ดบินจนตัดสินใจแยกทางไปเดินแบบ เอ๊ย ! ไม่ใช่ ไปโม่แข้งกับ เรอัล มาดริด เฟอร์กี้ ก็ไม่ทำให้แฟนบอลต้องผิดหวังเมื่อตัดสินใจทุ่มเงินกว่า 12.24 ล้านปอนด์ หรือถ้าเป็นเงินบาทก็กว่า 600 ล้านบาทเลยทีเดียว เพื่อแลกกับการได้ตัว คริสเตียโน่ โรนัลโด้ ซึ่งตอนนั้นอายุอานามอยู่ที่ 18 ขวบปี และเป็นดาวรุ่งคนหนึ่งของ สปอร์ติ้ง ลิสบอน
ซึ่งการเซ็นสัญญา ครั้งนี้ถือเป็นการยืนยันการติดสินใจที่ถูกต้องของ เฟอร์กี้ หลังจากถึงตอนนี้แล้ว โรนัลโด้ ตกเป็นข่าวกับ เรอัล มาดริด ที่พร้อมทุ่มเงินกว่า 80 ล้านปอนด์ (ราว 4,000 ล้านบาท) เพื่อให้ได้ตัวแต่สุดท้ายเรื่องดังกล่าวก็ไม่เกิดขึ้นแต่อย่างใด ซึ่งเรื่องนี้ก็โยงกับการตัดสินใจอันดับ 8 ของ เฟอร์กี้ อีกด้วย 
  
อันดับ 8 : การดื้อแพ่งไม่ยอมปล่อยให้ โรนัลโด้ ย้ายทีม
ทำ เอาเหล่าสาวกพันธุ์แท้ของ "ปีศาจแดง" หายใจหายคอไม่ทั่วท้องไปเหมือนกัน เมื่อเกือบต้องเสีย โรนัลโด้ ที่แบะท่าพร้อมย้ายไปเล่นให้กับทีมขวัญใจวัยเด็กอย่าง เรอัล มาดริด ก่อนที่เวลาต่อมา เฟอร์กี้ จะใช้วาทะอันแยบยลปนยะเยือกกล่อมให้ โรนัลโด้ อยู่เล่นกับทีมต่อจนถึงทุกวันนี้ 

อันดับ 7 : ตัดหางปล่อยวัด เดวิด เบ็คแฮม ออกจากทีม
" เจ้าพ่อลูกนิ่ง" อย่าง เบ็คแฮม เริ่มมีความสัมพันธ์แบบด่ำดิ่งลงเหวกับ เฟอร์กี้ หลังจากที่ตัดสินใจออกเรือนไปแต่งงานกับศรีภรรยาคนปัจจุบันอย่าง วิคตอเรีย และก็เป็นอีกครั้งที่ เฟอร์กี้ พิสูจน์ให้เห็นว่าไม่มีใครใหญ่ค้ำฟ้ากว่าสโมสรแน่นอน หลังจากไม่ลังเลใจจัดการปล่อยตัว เบ็คแฮม ให้ย้ายไปหากินต่างแดนกับ เรอัล มาดริด ด้วยสนนค่าตัว 25 ล้านปอนด์ (ราว 1,250 ล้านบาท)

อันดับ 6 : การยืนยันอย่างเชื่อมั่นในการคว้าตัว รุด ฟาน นิสเตลรอย
เฟอร์ กี้ ทำเอาหลายฝ่ายงงเป็นไก่ตาแตกเมื่อเจ้าตัวยืนกรานว่าตัดสินใจที่จะคว้าตัว "พี่ม้า" จาก พีเอสวี ไอนด์โฮเฟ่น ให้ได้ แม้ว่าช่วงนั้น นิสเตลรอย ต้องเจอปัญหาเข่าพังเล่นงานอยู่เนือง ๆ โดยในปี 2001 เฟอร์กี้ จัดการจ่ายเงินมูลค่ากว่า 18 ล้านปอนด์ (ราว 900 ล้านปอนด์) เพื่อแลกกับ นิสเตลรอย ซึ่ง เฟอร์กี้ ก็แสดงให้เห็นอีกครั้งว่าคิดอะไรไม่มีผิดจริง ๆ หลังจากตลอดช่วง 5 ซีซั่น ในโรงละครแห่งความฝัน "พี่ม้า" จัดการถลุงตาข่ายคู่แข่งไปแบบไม่ไว้หน้าใครถึง 150 ประตู

อันดับ 5 : การตัดสินใจพับโครงการยกเลิกคุมทีม
เหล่า สาวก "ผีแดง" เกือบที่จะต้องนั่งน้ำตาไหลอาบแก้มกันเป็นแถว ๆ เมื่อ เฟอร์กี้ ออกมาประกาศว่าตัดสินใจที่จะเกษียณอายุการทำทีมหลังจากที่จบฤดูกาล 2001-2002 แต่ในเวลาต่อมาเขาตัดสินใจพับแผนดังกล่าวออกไปก่อนและอยู่คุมทีมต่อ ซึ่งในฤดูกาลต่อมา เฟอร์กี้ ก็สามารถทำสิ่งมหัศจรรย์ได้อีกครั้งเมื่อพาพลพรรค "ผีแดง" พลิกล็อกชนิดฟ้าถล่มกลับมาคว้าแชมป์ลีกได้ หลังจากมีคะแนนตามหลัง "ปืนใหญ่" ไกลสุดกู่อยู่ 8 คะแนน

อันดับ 4 : การตัดสินใจเปลี่ยนตัวซูเปอร์ซับนัดช็อกโลกชนะ บาเยิร์น มิวนิค
ใน เกมชิงถ้วยหูใหญ่ของยุโรป เมื่อปี 1999 ที่สนาม คัมป์ นู ของ บาร์เซโลน่า เหล่าแข้ง "เสือใต้" ต่างเตรียมตัวที่จะฉลองแชมป์กันอยู่รอมร่อในอีกไม่กี่อึดใจหลังจากทีมนำอยู่ 1-0 แต่แล้วเมื่อ เฟอร์กี้ จัดการเปิดหมากแลกด้วยการส่ง 2 กองหน้าสำรองอย่าง เท็ดดี้ เชอริงแฮม และ โอเล่ กุนนาร์ โซลชา ลงไป
และ เฟอร์กี้ ก็พิสูจน์ให้เห็นอีกครั้งว่าการตัดสินใจครั้งนี้ถูกยิ่งกว่าถูกขนาดไหน เมื่อทั้ง 2 กองหน้าจัดการตะบันคนละประตูในช่วงท้ายเกม ทำให้ "ปีศาจแดง" พลิกกลับมาชนะในท้ายที่สุด 2-1 และคว้าแชมป์ซึ่งถือเป็นถ้วยยูโรเปี้ยน คัพ ใบแรกของสโมสรนับตั้งแต่ปี 1968 โดยที่ เฟอร์กี้ ก็ได้รับการประดับยศให้เป็น เซอร์ อเล็กซ์ ในเวลาต่อมา 

อันดับ 3 : "You CAN win things with kids"
ประโยค ฮิตที่ยังคงแทงใจเหล่า "เร้ด เดวิลส์" ที่พลั่งพรูออกมาจากปากของ อลัน แฮนเซ่น ที่เคยบอกกับ เฟอร์กี้ ว่า "คุณไม่สามารถคว้าแชมป์ได้หรอกหากใช้นักเตะเด็ก ๆ เหล่านี้" ซึ่งคำตอบที่ตะโกนออกมาจากโรงละครแห่งความฝัน ในฤดูกาล 1995-1996 คือ "โอ้ ใช่ เราทำได้"
เพราะในปีนั้น "ผีแดง" ทะยานคว้าแชมป์ลีกโดยที่แข้งในทีมเต็มไปด้วยเด็กสร้างมากมายอย่าง แกรี่ เนวิลล์, ฟิล เนวิลล์, เดวิด เบ็คแฮม, พอล สโคลส์ และนิคกี้ บัตต์ และเมื่อรวมกับอีกหนึ่งดาวรุ่งอย่าง ไรอัน กิ๊กส์ ทั้ง 6 คนก็กลายเป็น 6 แข้งพลังหนุ่ม ที่พา แมนฯ ยูไนเต็ด บินสูงทำแต้มทิ้งห่าง นิวคาสเซิ่ล ขาดลอยถึง 14 แต้มด้วยกัน

อันดับ 2 : การตัดสินใจเซ็นสัญญาคว้า รอย คีน เข้าสู่ทีม
ใน ช่วงซัมเมอร์ปี 1993 เฟอร์กี้มีเรื่องให้ครุ่นคิดอย่างมากกับสถานการณ์ว่าจะเลือกจรดปากกาเซ็น สัญญาคว้าใครดีเพื่อให้เข้ามาแทนที่ของ ไบรอัน ร็อบสัน และสายตาอันหลักแหลม เฟอร์กี้ ก็เหวี่ยงไปสะดุดกับหนุ่มน้อยชาวไอริช ที่ตอนนั้นเล่นอยู่กับ น็อตติ้งแฮม ฟอเรสต์ นามว่า รอย คีน ซึ่งในเวลาต่อมากลายเป็นแข้งระดับตำนานอย่างไม่มีใครสงสัย และ เฟอร์กี้ ก็พิสูจน์ให้เห็นอีกครั้งว่าตัดสินใจไม่ผิด ที่ตอนนั้นเจียดค่าตัว 3.75 ล้านปอนด์ (ราว 188 ล้านบาท) เพื่อให้ได้มาซึ่ง 12 ปีแห่งความมหัศจรรย์จาก รอย คีน

อันดับ 1 : การตัดสินใจดึง เอริก "เดอะ คิง" คันโตน่า สู่ทีม
และ แล้วก็มาถึงโพลอันดับ 1 แห่งการตัดสินใจของ เฟอร์กี้ ซึ่งเชื่อเหลือเกินว่าแฟนบอลพันธุ์แท้ของ "ผีแดง" คงไม่กล้าปฏิเสธว่านี่คือสุดยอดการตัดสินใจของ บรมกุนซือ เฟอร์กี้ อย่างแน่นอน โดยต้องย้อนกลับไปในช่วงเดือนพฤศจิกายน ปี 1992 เฟอร์กี้ ตัดสินใจเจียดเงิน 1.2 ล้านปอนด์ (ราว 60 ล้านปอนด์) ให้กับ ลีดส์ ยูไนเต็ด เพื่อเป็นค่าตัวในเซ็นสัญญากับ เอริก คันโตน่า
และ เมื่อดูจากสถิติของ "ก็องโต้" ตลอด 5 ฤดูกาลในสีเสื้อ "ปีศาจแดง" ก็บ่งบอกถึงการตัดสินใจของ เฟอร์กี้ ได้เป็นอย่างดี เมื่อ คันโตน่า กลายเป็นแม่ทัพพาทีมคว้าแชมป์ลีก ได้ 4 สมัย, แชมป์ เอฟเอ คัพ 2 สมัย และแชมป์ฟุตบอลการกุศลเปิดหัวฤดูกาลอย่าง คอมมิวนิตี้ ชิลด์ หรือ สมัยก่อนเรียกว่า แชร์ลิตี้ ชิลด์ อีก 3 ด้วยกัน และได้รับฉายาจากเหล่า "เร้ด เดวิลส์" ให้เป็น "เดอะ คิง" จวบจนถึงทุกวันนี้

 

 

ประวัตินักกีฬา

 

ชื่อ : Gabriel Obertan

เชื้อชาติ : ฝรั่งเศส

วันเกิด : 26 กุมภาพันธ์ 1989

ส่วนสูง : 186 Cm.

ต้นสังกัด : Man Utd.

ตำแหน่ง : ปีกขวา/ซ้าย, กองหน้า, กองกลางตัวกลาง

Obertan เป็นดาวรุ่งที่น่าจับตามองคนหนึ่งของวงการฟุตบอล ฝรั่งเศส มีตำแหน่งที่ถนัดที่สุดคือปีกขวา แต่สามารถเล่นได้อีกหลายตำแหน่ง โดยเริ่มต้นฟุตบอลอาชีพกับทีมใหญ่ทีมแรกคือ Paris Saint Germain ในปี 2003 แต่ไม่เคยได้ลงเล่นในชุดใหญ่จนมาปี 2005 จึงย้ายมา Bordeaux อยู่กับทีมเยาวชน 1 ปี จึงได้ขึ้นชุดใหญ่พร้อมกับเซ็นสัญญานักเตะอาชีพ และเริ่มได้ลงสนามในทีมชุดใหญ่ตั้งแต่อายุเพียง 17 ปี

แต่ Obertan ก็ยังคงเป็นตัวสำรองอยู่เพราะ กองหน้าของทีมมีมากมาย และ ยังมีฝีเท้าจัดกันทั้งนั้น Laurent Blanc ผู้จัดการทีมจึงไม่ได้เลือกใช้เขาลงสนามเท่าไรนัก จนมาปี 2009 Blanc ส่ง Obertan ไปให้ Lorient ยืมไปใช้งาน 1 ฤดูกาล เพื่อหวังว่าจะได้ประสบการณ์ลงเล่นมากกว่าที่เ็ป็นอยู่ โดย Obertan ได้ลงเล่น 15 นัดทำไปได้ 1 ประตู กับ Lorient จนเข้าสู่ช่วงปิดฤดูกาล Man Utd. ก็ได้ติดต่อเข้ามา และ จัดการซื้อตัวเขาไปร่วมทีมด้วยราคา 3 ล้านปอนด์ เซ็นสัญญา 4 ปี

กับทีมชาติ Obertan เล่นมาในทุกระดับ รวมถึงชุดอายุต่ำกว่า 21 ปี ในชุดที่ฝรั่งเศส พบกับ อังกฤษชุดอายุต่ำกว่า 21 ปี โดยเขาทำประตูได้ด้วย ในปี เดือน มีนาคม ปี 2009

 

 

 

 

 



เฟเดริโก มาเคด้า : ประวัติ เฟเดริโก มาเคด้า


ไอ้หนู เฟเดริโก มาเคด้า เกิดเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม ปี1991 ที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี และก็ไม่แปลก ที่เด็กชายมาเคด้า จะเริ่มต้นชีวิตบนสังเวียนแข้ง เป็นเด็กฝึกหัดของทีม "อินทรีฟ้าขาว" ลาซิโอ แต่ด้วยกฎหมายของลีกอิตาลี ที่ห้ามเด็กอายุต่ำกว่า18ปี เซ็นสัญญาเป็นนักฟุตบอลอาชีพได้

 @ ดังนั้นไอ้หนู  เฟเดริโก มาเคด้า ในวัย16ปี จึงมิอาจมีสัญญาอะไรที่แน่นอนมากไปกว่าการเป็นเด็กฝึกหัดของ ลาซิโอ เท่านั้น แต่งานนี้ต้องชมแมมวมองของ ปีศาจแดง ที่สายตาแหลมคม จัดการสะกดรอยเด็กคนนี้ จึงตัดสินใจดึงมาอยู่ให้เป็นเด็กในสังกัดอะคาเดมี่ของเร้ด เดวิลส์ เนื่องจากในอังกฤษนั้น สัญญาเซ็นนักเตะนั้นสามารถทำได้ตั้งแต่อายุเกิน16ปี

 @ ทำให้เด็กน้อย เฟเดริโก มาเคด้า ต้องอพยพย้ายครอบครัวมาอยู่ด้วยกันที่อังกฤษ พร้อมกับเข้าเป็นเด็กฝึกของ แมนฯยูไนเด็ด อย่างเป็นทางการในวันที่ 16 กันยายน ปี 2007 โดยเริ่มต้นได้เงินจากการได้ทุน3ปี ของอะคาเดมี่ แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด

 @ และแค่ฤดูกาลแรกภายใต้สัญลักษณ์ปีศาจสามง่าม เฟเดริโก มาเคด้า สิ้นสุดฤดูกาลของทีมอายุต่ำกว่า18ปี ด้วยตำแหน่งดาวัลโวประจำทีม ที่ลงสนามไป 21 เกม ยิงไปได้  12 ประตู ด้วยผลงานแบบนี้ ทำให้เจ้าหนูอิตาเลี่ยนคนนี้ ถูกดึงไปใช้งานในทีมสำรองของ แมนฯยูไนเต็ด ภายใต้การคุมทีมของ โอเล่ กุนนาร์ โซลชา อดีตศูนย์หน้าเบบี้เฟซของแมนฯยูไนเต็ด

 @ และได้มีโอกาสลงทีมสำรองแมตช์แรก ด้วยการเป็นตัวสำรอง และลงสนามด้วยการเปลี่ยนตัวกับ เฆราร์ด ปีเก้ กองหลังที่ปัจจุบันนี้ ไปเป็นกำลังหลักกับ บาร์เซโลน่า เรียบร้อย ในแมตช์ที่ไปแพ้ให้กับทีมสำรอง ของลิเวอร์พูล ในลีกของทีมสำรองนั่นเอง

 @ และในวันเกิดอายุ17ปี เฟเดริโก มาเคด้า ก็ได้เซ็นสัญญาอาชีพอย่างเป็นทางการครั้งแรกกับ แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด ในฤดูกาล 2008-2009 แต่กระนั้นก็ดี ที่อยู่ประจำของ มาเคด้า ส่วนใหญ่ก็จะอยู่กับทีมอายุต่ำกว่า18ปี จะมีเพียง2-3ครั้งที่ขึ้นมาเล่นทีมสำรองบ้างจนจบฤดูกาลที่ผ่านมา

 @ และในฤดูกาลนี้ด้วยผลงาน การยิง5ประตู ใน6 เกม ของทีมสำรอง ส่งผลให้ผลงานเข้าตา ท่านเซอร์เป็นอย่างมาก และเมื่อยามที่ทีมไร้ซึ่งกองหน้าที่ติดโทษแบนอย่าง เวย์น รูนี่ย์ และ ดิมิตาร์ เบอร์บาตอฟ ที่บาดเจ็บ รวมไปถึง คาร์ลอส เตเวซ ที่ค่อนข้างล้า กับช่วงเวลาที่ทีมต้องการกองหน้าลงสนามหลังสกอร์ตามหลัง แอสตัน วิลล่า อยู่1-2 ชื่อของ  เฟเดริโก มาเคด้า จึงถูกส่งเข้าสู่สารบบที่เด็กผีต้องรู้จักทันที











วันเกิด 30 มกราคม 1981
สถานที่เกิด บลาโกลฟกราด, บัลแกเรีย
ตำแหน่ง ศูนย์หน้า
หมายเลขเสื้อ 9
ย้ายมาร่วมทีม วันที่ 1 กันยายน 2008
ทีมชาติ บัลแกเรีย

ดิ มิตาร์ เบอร์บาตอฟ ศูนย์หน้าตัวเป้า ที่สมบูรณ์แบบ และแสนภาคภูมิ เปี่ยมไปด้วยความสามารถ และสัญชาติญาณการล่าตาข่ายที่ดุดัน เซอร์ อเล็กซ์ยอมรับว่าชื่นชอบนักเตะที่เปี่ยมไปด้วยพรสวรรค์ อีกทั้งสไตล์การเล่นแบบบัลแกเรียนที่โดนเด่น ใกล้เคียงบุรุษในตำนานอย่าง เอริค คันโตน่า เบอร์บาตอฟจึงได้กลายมาเป็นหนุ่มบัลแกเรียน ชุดแดงขวัญใจแฟนๆ ยูไนเต็ด ในแนวรุกเคียงคู่เวย์น รูนี่ย์, คาร์ลอส เตเบซ และ คริสเตียโน่ โรนัลโด้

เบอร์บาตอฟเปิดฉากชีวิตนักเตะ ด้วยการร่วมทีมซีเอสเคเอ โซเฟีย ยักษ์ใหญ่ของบัลแกเรีย ในขณะที่มีอายุเพียง 17 ปี เจริญรอยตาม อีวาน พ่อของเขา และหลังจากประเดิมนัดเปิดสนามกับทีมยักษ์ใหญ่ ในปี 1998-99 ด้วยวัยเพียง 18 ปี เบอร์บาตอฟ ก็เริ่มสร้างชื่อให้กับตัวเองอย่างรวดเร็วด้วยการทำ 14 ประตู ใน 27 นัด ในการลงเล่นในลีก

หลังเปิดฉากการทำประตู ให้กับซีเอสเคเอ พรสวรรค์ และความโดดเด่นของเบอร์บาตอฟ ดึงดูดสายตาของทีมยักษ์ใหญ่อย่าง "ห้างขายยา" ไบเออร์ เลเวอร์คูเซ่น จากเยอรมันมาคว้าตัวไปรับหน้าที่ศูนย์หน้าล่าตาข่าย ในเดือน ม.ค. 2001 แต่การร่วมทีมกับเลเวอร์คูเซ่น กลับดูเหมือนจะฝืดๆ อืดๆ ในช่วงแรก จนกระทั่งเขาได้สำแดงฤทธิ์เดชสร้างชื่อให้กับตัวเอง ในศึกแชมเปี้ยนส์ ลีก ด้วยการโซโล ทำประตูเอาในแมทช์ที่บี้กับลียง และอีกเกมที่สามารถทะลวงตาข่ายของหงส์แดง ลิเวอร์พูล

นอกจากความโดน เด่นในระดับสโมสรแล้ว เบอร์บาตอฟยังสวมปลอกแขนกัปตันทีมชาติ บัลแกเรีย สร้างผลงานจนได้รับเสนอชื่อเข้ารับรางวัลนักเตะยอดเยี่ยมแห่งปี ในปี 2002, 2004 2005 และ 2007

ตัวแดงในสมุดพกของดิมิตาร์ เบอร์มาตอฟ มีแค่ครั้งที่เขาสังกัดอยู่ไบเออร์ เลเวอร์คูเซ่น ซึ่งเขี่ยแมนฯ ยูไนเต็ด ตกรอบก่อนรองชนะเลิศ เมื่อศึกแชมเปี้ยนส์ ลีก เดือนเมษายน ปี 2002 โดยเขาได้ลงเล่นเป็นตัวสำรองในเกมนี้

จุดกำเนิดการผันเข้าสู่วงการพรีเมียร์ชิพ ด้วยการเซ็นสัญญามาเป็นพลพรรค "ไก่เดือยทอง" ท็อตแน่ม ฮอตสเปอร์ ด้วยค่าเหนื่อย 10.9 ล้านยูโร ชาวไวท์ฮาร์ท เลน ไม่ผิดหวัง เมื่อเบอร์บาตอฟ เปิดตัวด้วยการซัลโว ในสองนาทีแรก ในศึกครั้งที่เปิดบ้านรับเชฟฟิลด์ ยูไนเต็ต และโชว์ฟอร์มร้อนแรงจัด ซัดไปถึง 23 ประตูในครึ่งฤดูกาลแรกจนได้รับการโหวตเป็นนักเตะยอดเยี่ยมแห่งฤดูกาล 2007/08 ของไก่เดือยทองอีกด้วย

จนท้ายที่สุด หลังจากที่สับสนเรื่องการย้ายทีม เบอร์บาตอฟ ก็แพ็คกระเป๋าย้ายเข้าโอลด์ แทรฟฟอร์ด กลางฤดูร้อน 2008 ด้วยสัญญา 4 ปี นับแต่วันที่ 1 ก.ย. 2008




หลุยส์ อันโตนิโอ วาเลนเซีย มอสเคร่า


 

ชื่อเต็ม หลุยส์ อันโตนิโอ วาเลนเซีย มอสเคร่า
วันเกิด 4 สิงหาคม 1985
เมืองเกิด Nueva Loja, เอกวาดอร์
ตำแหน่ง กองกลาง, ปีก
ค่าตัว 16 ล้านปอนด์
หมายเลขเสื้อ 25
เข้าร่วมทีม 30 มิถุนายน 2009
ลงสนามนัดแรกให้แมนฯ ยูไนเต็ด 9 สิงหาคม 2009 พบเชลซี

อันโต นิโอ วาเลนเซีย เริ่มเล่นฟุตบอลกับทีม คาริบ จูเนียร์ ในบ้านเกิด ก่อนเริ่มต้นอาชีพนักฟุตบอลของเขากับทีม เอล นาซิอองนาล ในปี 2001 และย้ายมาร่วมทีม บียาร์เรียล ทีมในสแปนิช ลีก ของสเปนในปี 2005 ด้วยสัญญา 5 ปี แต่ก็ไม่สามารถแจ้งเกิดกับทีมชุดใหญ่ได้ก่อนถูกปล่อยให้ทีม เรเครติโบ อูเอลบา ยืมตัวไปใช้งาน

วาเลนเซีย เล่นได้ดีทั้งตำแหน่งมิดฟิลด์ตัวกลาง และปีกขวา ในฟุตบอลโลกรอบสุดท้าย ปี 2006 เขาทำผลงานได้น่าประทับใจกับทีมชาติเอกวาดอร์ จนถูกโหวตให้ได้รับรางวัล "ดาวรุ่งยอดเยี่ยม ของฟีฟ่า" FIFA's Best Young Player Award และในปีเดียวกันเขาก็ได้ย้ายมาร่วมทีมในพรีเมียร์ ลีก อังกฤษ ด้วยสัญญายืมตัว 1 ปี กับวีแกน แอธเลติก ก่อนเซ็นสัญญาซื้อตัวอย่างเป็นทางการในปี 2008

ยังไม่หยุดอยู่แค่ นั้นเมื่อผลงานของเขาได้รับการจับตามองจากทีมใหญ่หลายทีม อย่างแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด, ลิเวอร์พูล, เชลซี รวมทั้งเรียล มาดริด ยักษ์ใหญ่แห่งลา ลีกา สเปน ด้วย แต่ท้ายที่สุดในปี 2009 เขาก็จรดปากกาเซ็นสัญญา 4 ปี ย้ายมาอยู่ถิ่นโอลด์ แทรฟฟอร์ด กับแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด ทีมแชมป์พรีเมียร์ ลีก ด้วยค่าตัวสูงถึง 16 ล้านปอนด์

"เขาเป็นผู้เล่นที่เราเฝ้าติดตาม มานานแล้ว ตลอด 2 ปี หลังสุดกับวีแกน เขาเป็นกำลังสำคัญให้กับทีม และผมเองก็มั่นใจว่าความสามารถของเขาจะสร้างประโยชน์ให้กับทีมของเราได้ อย่างมาก" เซอร์ อเล็กซ์ เฟอร์กูสัน ผู้จัดการทีมแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด กล่าว

เส้นทางอาชีพของอันโตนิโอ วาเลนเซีย
1999-2001 คาริบ จูเนียร์
2001-2005 เอล นาซิอองนาล ลงสนาม 84 นัด ทำประตู 20
2005-2008 บียาร์เรียล ลงสนาม 2 นัด
2005-2006 เรเครติโบ อูเอลบา (ยืมตัว) ลงสนาม 14 นัด ทำประตู 1
2006-2008 วีแกน แอธเลติก (ยืมตัว) ลงสนาม 37 นัด ทำประตู 1
2008-2009 วีแกน แอธเลติก ลงสนาม 47 นัด ทำประตู 6
2009 แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด ลงสนาม 27 นัด ทำประตู 7

 




ราฟาเอล



วันเกิด 9 กรกฎาคม 1990
สถานที่เกิด ริโอ เด จาเนโร, ประเทศบราซิล
ตำแหน่ง แบ็คขวา
หมายเลขเสื้อ 21
ทีมชาติ บราซิล

บางครั้งแฟนบอลอาจเคยได้ยินฉายา "พี่น้องเนวิลล์แห่งบราซิล" ซึ่งอาจทำให้แฟนๆ สงสัยว่าพวกเขาเป็นใคร แต่เมื่อถึงวันที่ 4 สิงหาคม 2008 แฟนแมนฯ ยูไนเต็ด ก็ไม่ต้องสงสัยอีกต่อไป เมื่อได้เห็นโฉมหน้าของคู่แฝด ดา ซิลวา และฟอร์มการเล่นที่โดดเด่นของพวกเขา

ราฟาเอล เกิดที่เมือง เปโทรโปลิส, ริโอ เด จาเนโร ประเทศบราซิล เขาก็เหมือนกับคู่แฝดของเขาที่ติดทีมชาติบราซิลชุดเยาวชน และเขาก็ได้ลงเล่นนัดแรกให้กับแมนฯ ยูไนเต็ด ในนัดอุ่นเครื่องที่พบกับปีเตอร์โบโร่

การลงเล่นนัดแรกให้แมนฯ ยูไนเต็ด ของพวกเขา ทำให้การรอคอยที่ลงเล่นในสนามของพวกเขาจบลง เมื่อพวกเขาไม่ได้ลงเล่นให้กับทีมต้นสังกัดมาเกือบ 1 ปี เพราะ ฟลูมิเนนเซ่ สโมสรเดิมของพวกเขาเก็บตัวเขาไว้เพื่อเตรียมจะย้ายมาเล่นกับแมนฯ ยูไนเต็ด

แต่ แม้ว่าจะตกลงการย้ายทีมกันมาตั้งแต่เดือนมกราคม 2008 แล้วแต่การเซ็นสัญญาอย่างเป็นทางการก็เพิ่งเกิดขึ้นในเดือนกรกฎาคม 2008 เนื่องจากการดำเนินการเรื่องการยื่นขอเวิร์ค เพอร์มิต

หลังจากการลง เล่นในเกมพบกับ ปีเตอร์โบโร่ ผู้จัดการทีมปีศาจแดงก็ให้สัมภาษณ์ชื่นชมเขาว่า "ถือเป็นการเปิดมุมมองใหม่ให้เราจริงๆ แม้ว่าเขาจะไม่ได้ลงเล่นในสนามมาเกือบ 1 ปีแล้ว แต่ในเกมนี้เขาก็ได้เล่นเต็ม 90 นาที คุณรู้ไหมเกมฟุตบอลเป็นยังไง บางครั้งเราก็ได้เห็นดาวเจิดจรัสได้ในเกมแบบนี้ จากหลักฐานของเกมในคืนนี้ผมคิดว่าเรามีนักเตะที่ดีที่นี่อีกคนแล้วล่ะ"

เขา และคู่แฝดของเขาถูกค้นพบโดย เลส เคอร์ชอว์ ผู้บริหารของทีมเยาวชนในช่วงซัมเมอร์ปี 2005 ในขณะที่เขาเล่นให้กับทีมเยาวชนของ ฟลูมิเนนเซ่ ในการทัวร์ฮ่องกง

แต่ เขาก็ยังคงต้องรอคอยเกมแรกของเขากับทีมชุดใหญ่แมนฯ ยูไนเต็ด ต่อไป เพราะแม้จะมีชื่อของเขาและคู่แฝด ฟาบิโอ เป็นตัวสำรองในวันที่ 17 สิงหาคม 2008 ในเกมที่แมนฯ ยูไนเต็ด พบกับนิวคาสเซิ่ล แต่เขาก็ยังไม่มีโอกาสได้ลงเล่น แต่ด้วยความสามารถอันเต็มเปี่ยมของพวกเขา ก็คงไม่รออีกนานเท่าไรหรอก






 

ชื่อ - สกุล : Cristiano Ronaldo ( คริสเตียโน่ โรนัลโด้ ) : นักฟุตบอล ชาวโปรตุเกส

วันเดือนปีเกิด : 5 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1985

ประวัติ : คริสเตียโน่ โรนัลโด้ ดอส ซานโต๊ส อเวโร่ หรือที่เรารูจักกันในนาม คริสเตียโน่ โรนัลโด้ เกิดเมื่อที่ เมืองฟันชัล มาเดร่า ประเทศโปรตุเกส โดยครอบครัวของเขาอาศัยอยู่ที่ควินตา โด ฟาชาล เมืองซานโต อันโตนิโอ ซึ่งเป็นเมืองที่มีประชากรยากจนอาศัยอยู่มาก โรนัลโด้ เริ่มเล่นฟุตบอลบริเวณตามถนนที่นี่ ก่อนที่ พรสวรรค์ที่เต็มเปี่ยม บวกกับทักษะ และความสามารถเฉพาะตัวที่ยอดเยี่ยม สามารถเล่นได้ทั้งปีกขวา และปีกซ้าย จะฉายแวว และสร้างชื่อให้ โรนัลโด้  ได้รับการยกย่องให้ เป็นหนึ่งในนักเตะที่เก่งที่สุดในโลกในปัจจุบันนี้

 อาชีพนักฟุตบอล :
1993-2001 : เริ่มต้นอาชีพกับทีมเยาวชน

โรนัลโด้ เริ่มเล่นฟุตบอลในขณะที่อายุเพียง 3 ปีเท่านั้น ก่อนที่จะเริ่มต้นเล่นฟุตบอลอย่างจริงจังในทีมชุดใหญ่ของ ทีม Andorinha เมื่อตอนเขาอายุ 6 ขวบ จากการชักชวนของญาติเขาที่อยู่ในทีมนี้ และยังเป็นทีมที่บิดาของเขาทำหน้าที่เป็นผู้ดูแลชุดแข่งอีกด้วย พอถึงปี 1995 โรนัลโด้ ตัดสินใจย้ายไปอยู่กับทีม Nacional โดยมีการจ่ายค่าตัวเป็นชุดฟุตบอลและลูกบอล หลังจากช่วย นาซิอองนาล คว้าแชมป์ระดับเยาวชนได้ โรนัลโด้ ในอายุ 12 ปี ก็ได้รับความสนใจจากสโมสรใหญ่ ๆ ของโปรตุเกสมากมาย แต่สุดท้าย โรนัลโด้ เลือกค้าแข้งกับ สปอร์ติง ลิสบอน ทีมโปรดของตัวเอง ในที่สุด

2001-2003 : สปอร์ติ้ง ลิสบอน  :

โรนัลโด้ เริ่มอาชีพค้าแข้งกับ สปอร์ติ้ง ลิสบอน เมื่อปี 1997 ในทีมระดับเยาวชน ก่อนที่เขาจะค่อยๆ ก้าวขึ้นสู่ชุดใหญ่ได้สำเร็จ  ในปี 2001 ภายหลัง พัฒนาฝีเท้าขึ้นจาก ทีมยู-16, ยู-17, ยู-18 และ ทีมชุดบี ตามลำดับ และเมื่อ อายุ 17 ปี โรนัลโด้ ได้ลงเล่นในทีมชุดใหญ่ของ สปอร์ติ้ง เป็นครั้งแรก และยิง 2 ประตู ในเกมที่พบกับ โมไรเรนส์ และเขาก็ยังก้าวไปติดทีมชาติโปรตุเกสชุดอายุต่ำกว่า 17 ปีในศึกชิงแชมป์ยุโรป อีกด้วย

หลังจากโชว์ในศึกฟุตบอลชิงแชมป์ยุโรป ยู-17 ชื่อของโรนัลโด้ ก็กลายเป็นที่รู้จักในนามของดาวรุ่งพุ่งแรงของวงการฟุตบอลโปรตุเกส ที่เต็มเปี่ยมไปด้วยพรสวรรค์, ทักษะ และความสามารถเฉพาะตัวที่ยอดเยี่ยม โดย เขาได้รับความสนใจจากหลายทีมยักษ์ใหญ่ในยุโรป โดยเฉพาะ ลิเวอร์พูล ภายใต้การคุมทีม เชราร์ด อุลลิเย่ร์ ที่ติดตามฝีเท้าของ โรนัลโด้ มาตั้งแต่ขณะที่เขามีอายุ 16 ปี แต่ก็มีอันล้มเลิก โดยให้เหตุผลว่า โรนัลโด้ ยังเด็กเกินไป และจำเป็นต้องใช้เวลาอีกซักระยะกว่าจะพัฒนาฝีเท้าเป็นนักฟุตบอลชั้นนำได้

อย่างไรก็ดี ฝีเท้าของเขามาเตะตา เซอร์ อเล็กซ์ เฟอร์กูสัน ผู้จัดการทีมแมเชสเตอร์ ยูไนเต็ด ในช่วงที่พา "ปีศาจแดง" ไปลงเตะอุ่นเครื่องกับ สปอร์ติ้ง ลิสบอน ในช่วงก่อนเปิดฤดูกาล 2003/2004 ซึ่งนักเตะของ "ปีศาจแดง" โดนโรนัลโด้ ใช้ทักษะอันยอดเยี่ยม สร้างความปั่นป่วนให้ทั้งเกมการแข่งขัน และช่วยให้ สปอร์ติ้ง เอาชนะ ยอดทีมจากเกาะอังกฤษ ไปได้ 3-1 จนนำมาสู่การจัดการซื้อตัว โรนัลโด้ มาสู่ โอลด์ แทร๊ฟฟอร์ด ด้วยค่าตัว 12.24 ล้านปอนด์ (771 ล้านบาท) เพื่อมาเป็นตัวตายตัวแทนของ เดวิด เบ็คแฮม ที่ย้ายไปร่วมทีมรีล มาดริด

2003- ปัจจุบัน : แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด  :

2003-2005: แจ้งเกิดได้อย่างงดงาม  :
นับตั้งแต่ที่ โรนัลโด้ ย้ายมาร่วมทีมแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด เขาก็ได้รับทั้งคำชื่นชมอย่างมากมายในเรื่องทักษะ ความสามารถส่วนตัวของเขา  โดยในฤดูกาล 2003-2004 ซึ่งเป็นฤดูกาลแรกของ โรนัลโด้ เขาต้องพบกับความกดดัน  ในการเข้ามารับตำแหน่งหมายเลข 7 ของทีมต่อจาก เบ็คแฮม และบรรดานักเตะระดับตำนานของ "ปีศาจแดง" ที่เคยใช้เบอร์นี้ในสีเสื้อ ยูไนเต็ด ไม่ว่าจะเป็น เอริค คันโตน่า, จอร์จ เบสต์ หรือ บ็อบบี้ ชาร์ลตัน ท่ามกลางความคาดหวังอย่างมากจากแฟนบอล จนทำให้เขาเคยไปขอเปลี่ยนเบอร์เสื้อจากหมายเลข 7 กลับไปเป็นหมายเลข 28 ที่เขาเคยใส่ในสมัยที่อยู่กับ สปอร์ติ้ง ลิสบอน แต่ก็ถูกทางสโมสร ปฏิเสธ เพราะเชื่อว่า โรนัลโด้ เหมาะสมกับการสืบทอดตำนานหมายเลข 7 ของ "ปีศาจแดง" ต่อไป

โรนัลโด้  ลงสนามให้ทีมปีศาจแดง ครั้งแรกในเกมทีมถล่ม โบลตัน วันเดอเรอร์ส โดยเขาถูกเปลี่ยนเป็นตัวสำรองลงสนามในนาทีที่ 60 ของเกม และใช้เวลาไม่นานนักในการปรับตัวให้เข้ากับพรีเมียร์ชิพ และผลงาน 8 ประตู จากการลงสนาม 39 นัด ซึ่งรวมถึงประตูแรกของเขา ในรอบชิงชนะเลิศเอฟเอ คัพ ที่เอาชนะ มิลล์วอลล์ 3-0 ที่มิลเลเนี่ยม สเตเดี้ยม ก็ทำให้เขาได้รับรางวัลผู้เล่นยอดเยี่ยมแห่งปีของแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด (Sir Matt Busby Player of the Year) ประจำฤดูกาล 2003/04

ในฤดูกาลที่ 2 ของโรนัลโด้กับ ยูไนเต็ด โรนัลโด้ โชว์ฟอร์มไม่ดีเท่ากับปีแรก หลังจากที่จบฤดูกาลด้วยการลงสนาม 50 นัด แต่ทำได้แค่ 9 ประตู ซึ่งในปีนี้ เองที่ โรนัลโด้ โดนวิจารณ์ถึงสไตล์การเล่นที่ชอบโชว์ทักษะการเลี้ยงบอลผ่านคู่ต่อสู้ จนบางครั้งกลายเป็นการเล่นแบบไม่เป็นทีมเวิร์ค  อย่างไรก็ตาม ในฤดูกาล 2005/06 โรนัลโด้ ก็เรียกฟอร์มเก่งของตัวเองมาได้อีกครั้งในช่วงครึ่งซีซั่นหลัง ด้วยการทำ 12 ประตู จากการลงสนาม 47 นัด และยังเป็นผู้ทำประตูที่ 1,000 ของ "ปีศาจแดง" ในพรีเมียร์ลีก ในนัดที่แพ้ มิดเดิ้ลสโบรช์ 1-4

อย่างไรก็ตาม โรนัลโด้ ก็ยังพา "ปีศาจแดง" เข้าชิงชนะเลิศฟุตบอลคาร์ลิ่ง ลีก คัพ กับ วีแกน ได้สำเร็จ ซึ่ง แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด ก็เอาชนะไปได้ โดยที่เขาทำประตูได้อีกด้วย ส่งผลให้ เขา คว้ารางวัลนักเตะดาวรุ่งยอดเยี่ยมของฟิฟโปร (FIFPro Special Young Player of the Year 2005) ซึ่งเป็นรางวัลเดียวที่ให้แฟนๆ เป็นผู้ลงคะแนนโหวตตัดสินไปครอง และในปีเดียวกันเขาก็ได้อันดับที่ 20 ในตำแหน่งผู้เล่นยอดเยี่ยมแห่งปีของฟีฟ่าด้วย

ในปี 2006  โรนัลโด้ กับ รุด ฟาน นิสเตลรอย กองหน้าเพื่อนร่วมทีม "ปีศาจแดง" มีเรื่องทะเลาะกันในสนามซ้อมคาร์ริงตัน โร้ด ของ แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด อยู่บ่อยครั้ง ทำให้เคยมีข่าวลือว่า โรนัลโด้ จะโดนขายไปให้กับ ยูเวนตุส ทีมยักษ์ใหญ่ของอิตาลี ด้วยค่าตัว 20 ล้านปอนด์ (ประมาณ 1,260 ล้านบาท) แต่นั่นก็เป็นแค่ข่าวลือ ก่อนที่ โรนัลโด้ จะต่อสัญญากับทีมออกไปจนถึงปี 2010

2003-2005: แจ้งเกิดได้อย่างงดงาม  :

แม้ว่า หลังศึกฟุตบอลโลก 2006 ที่ประเทศ เยอรมัน โรนัลโด้ ถูกแฟนบอลอังกฤษรุมโห่ไล่หลังจากที่มีส่วนทำให้ เวย์น รูนี่ย์ เพื่อนร่วมทีมแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด ต้องถูกไล่ออกในเกมที่อังกฤษพบกับโปรตุเกส โรนัลโด้ถูกสื่อในอังกฤษกดดันและต่อว่า อย่างไรก็ดี โรนัลโด้ยังคงเล่นให้กับทีม ปีศาจแดง ต่อไป และเขาก็พาทีมออกสตาร์ตฤดูกาล 2006-2007 ได้อย่างสวยหรู ด้วยการถล่ม ฟูแล่ม ไปถึง 5-1 หลังจากนั้น โรนัลโด้ ก็เป็นหนึ่งในนักเตะที่มีอิทธิพลต่อทีมยูไนเต็ดมากที่สุด หลังจากซัดไป 6 ประตู จากการลงสนาม 3 นัด ซึ่งส่งผลให้เขาทำประตูรวมไปแล้ว 12 ลูก ก่อนที่จะมายิงเพิ่มได้อีก 2 ลูกในเกม ที่พบกับ วีแกน

ในเดือน ธันวาคม โรนัลโด้ คว้ารางวัลนักเตะยอดเยี่ยมประจำเดือน ไปครอง  ซึ่งถือเป็นครั้งที่ 2 ติดต่อกัน ส่งผลให้เขากลายเป็นผู้แล่นคนที่สามที่ทำเช่นนี้ ได้ ต่อจาก เดนนิส เบิร์กแคมป์ (อาร์เซน่อล, 1997) และ ร็อบบี้ ฟาวเลอร์ (ลิเวอร์พูล, 1996) ตามลำดับ และโรนัลโด้ ก็มายิงประตูที่ 50 ในสีเสื้อ เร้ดเดวิลส์ ได้สำเร็จ ในเกมที่พบกับ แมนเชสเตอร์ ซิตี้ พร้อมกับช่วยให้ต้นสังกัดกลับมาคว้าแชมป์พรีเมียร์ได้เป็นครั้งแรกในรอบ 4 ปี

ในเดือน เมษายน 2007 โรนัลโด้ ตกเป็นข่าวว่า กำลังถูก เรอัล มาดริด ให้ความสนใจคว้าตัวไปร่วมทีม  โดยทีมยักษ์ใหญ่จากศึกลาลีกา สเปน ยินดีควักกระเป๋า 54 ล้านปอนด์ (ประมาณ 3,402 ล้านบาท) เพื่อเป็นค่าตัวของโรนัดด้ อย่างไรก็ตาม ในวันที่ 13 เมษายน โรนัลโด้ ก็ต่อสัญญาฉบับใหม่กับทีมออกไปอีก 5 ปี พร้อมกับรับค่าเหนื่อยสูงสุดในประวัติศาสตร์ของสโมสร ที่ 120,000 แสนปอนด์ (ประมาณ 7.56 ล้านบาท) ต่อสัปดาห์ 

นอกจากนี้โรนัลโด้ยังคว้ารางวัลให้กับตนเองมากมายในฤดูกาล2006-20007 ไม่ว่าจะเป็นนักฟุตบอลยอดเยี่ยม และนักฟุตบอลดาวรุ่งยอดเยี่ยมแห่งปีของสมาคมฟุตบอลอังกฤษ(เอฟเอ)(เป็นผู้เล่นรายที่2ในประวัติศาสตร์ ที่สามารถคว้ารางวัลเกียรติยศทั้งสองมาครอบครองในเวลาเดียวกัน  ต่อจาก แอนดี้ เกรย์ เคยทำได้เมื่อปี 1977 หรือ ราว 30 ปี) รวมถึงมีชื่อติดหนึ่งในทีมยอดเยี่ยมประจำฤดูกาล ร่วมกับเพื่อนทีม ยูไนเต็อีก 7 คน จากการโหวดของแฟนบอลทั่วสหราชอาณาจักร ยิ่งไปกว่านั้น โรนัลโด้ ยังได้รับรางวัลนักฟุตบอลโปรตุเกสยอดเยี่ยมแห่งปี, รางวัลจากสมาคมนักข่าวกีฬาอังกฤษ, นักเตะยอดเยี่ยมของสโสมสรและของแฟนบอลยูไนเต็ด อีกด้วย

2007-2008 : พาทีมคว้าดับเบิ้ลแชมป์ :

โรนัลโด้ ออกสตาร์ตฤดูกาลนี้ได้อย่างย่ำแย่ หลังโดนไล่ออกในเกมที่พบกับ พอร์ทสมัธ ก่อนที่จะกลับมายิงประตูให้ทีมเอาชนะ สปอร์ติ้ง ลิสบอน อดีตต้นสังกัดเดิม ได้สำเร็จ ในเกมยูฟ่า แชมเปี้ยนส์ ลีก รอบแบ่งกลุ่ม หลังจากนั้น ประตูจากปลายสตั๊ดของ โรนัลโด้ ก็ไหลมาเทมาอย่างไม่หยุดยั้ง ทั้งในยุโรป บอลลีก หรือ บอลถ้วย ส่งผลให้ทีม ปีศาจแดง ทำผลงานได้อย่างยอดเยี่ยมตลอดช่วงครึ่งฤดูกาลแรก

ในวันที่ 2 ธันวาคม โรนัลโด้ ได้รับการประกาศให้รับรางวัลนักฟุตบอลยอดเยี่ยมของยุโรปเป็นอันดับ 2 รองจาก ริคาร์โด้ กาก้า เพลย์เมกเกอร์จอมทัพของ เอซี มิลาน ก่อนที่ถัดมาอีก 2 สัปดาห์ โรนัลโด้ ก็ถูกประกาศให้คว้ารางวัลนักฟุตบอลยอดเยี่ยมของโลกอันดับ 3 รองจาก กาก้า อันดับ 1 และ ลีโอเนล เมสซี่  อันดับ 2 ตามลำดับ

โรนัลโด้ ยังคงโชว์ฟอร์มให้กับ ยูไนเต็ด ได้อย่างร้อนแรงต่อไป และเขาก็สามารถทำแฮตทริกแรกของเขากับ ยูเนเต็ด ได้ ในเกมที่ถล่ม นิวคาสเซิ่ล 6-0 ที่สนามโอลด์ แทร็ฟฟอร์ ในวันที่ 12 มกราคม 2008  และเป็นผลการแข่งขันที่ทำให้ ยูไนเต็ด ก้าวขั้นมาครองอันดับ 1 ของตารางพรีเมียร์ชิพได้สำเร็จ  ขณะที่ฟอร์มการผลิตประตูของ โรนัลโด้ ก็ยังทำงานอย่างต่อเนื่องแบบไม่มีตก โดยตอนนี้ เขายิงประตูให้ทีมรวมไปแล้ว 23 ประตู เทียบเท่ากับ ในซีซั่นก่อน ก่อนที่ในที่สุด ในวันที่ 19 มีนาคม 2008  โรนัลโด้ จะสร้างสถิติเป็นนักเตะตำแหน่งมิดฟิลด์ที่ทำประตูได้มากที่สุดในหนึ่งฤดูกาล โดยทำลายสถิติเดิมของ จอร์จ เบสต์ อดีตดาวเตะระดับตำนานของ ปีศาจแดง ที่เคยทำไว้ที่ 32 ประตู ในระหว่างปี 1967-68

โรนัลโด้ ถูก เรอัล มาดริด ให้ความสนใจอีกครั้ง โดยคราวนี้ ทีม ราชันชุดขาว ประกาศพร้อมทุ่ม 100 ล้านปอนด์ (6,300 ล้านบาท) เพื่อคว้าตัว โรนัลโด้ ไปร่วมทีม แต่ทว่า ก็โดน ยูไนเต็ด ปฏิเสธหน้าหงายไปอย่างไม่ใยดี และในวันที่ 10 พฤษภาคม 2008 โรนัลโด้ สามารถยิงประตูสำคัญในเกมนัดสุดท้าย ที่พบกับ วีแกน ให้ทีมออกนำไปได้ 1-0 จากลูกจุดโทษ ซึ่งถือเป็นประตูรวมที่ 41 และประตูที่ 31 ในศึกพรีเมียร์ชิพ ของเขาแล้วในซีซั่นนี้ ก่อนที่จะมาบวกเพิ่มให้กับตนเองได้อีกหนึ่งลูกในนัดชิงชนะเลิศ ศึกยูฟ่า แชมเปี้ยนส์ ลีก ที่เอาชนะ เชลซี มาได้ ด้วยการดวลจุดโทษ 6-5 ซึ่งถือเป็นถ้วยรางวัลใบทีสองของ ยูไนเต็ด หลังจาก ที่คว้าแชมป์ พรีเมียร์ชิพมาครองได้แล้ว ก่อนหน้านี้ ส่งผลให้ โรนัลโด้ มีสถิติการยิงประตูเป็นรอง รุด ฟาน นิสเตลรอย ที่ทำไว้ในปี 2002-2003 อยู่เพียง 2 ลูกเท่านั้น อย่างไรก็ตาม นั่นก็เป็นผลงานที่ดีพอที่จะทำให้ โรนัลโด้ คว้ารางวัล รองเท้าทองคำประจำฤดูกาล 2007-2008 มาครองได้สำเร็จ 

ทีมชาติโปรตุเกส :
ด้วยความสามารถและความโด่งดัง จึงมีเอเย่นต์สนใจเขามาเป็นพรีเซนเตอร์อยู่หลายชิ้น ภาพลักษณ์ของโรนัลโด้สร้างความสำเร็จให้กับการตลาดมหาศาล ไม่ว่าจะเป็น วิดีโอเกมต่าง ๆ ไปจนโทรศัพท์มือถือ นอกจากนี้ความหล่อเหลาของเขา ก็ยังทำให้เขาได้รับการติดต่อจากนิตยสารแฟชั่นอีกด้วย นิตยสารโวกของอเมริกา นำเสนอเขาไปเป็นแบบปก และเขายังเป็นพรีเซนเตอร์ ให้ผลิตภัณฑ์รองเท้ากีฬาอย่าง ไนกี้ โดยทางไนกี้เล็งเห็นว่า โรนัลโด้มีฝีเท้าที่เป็นนักเตะที่วิ่งเร็วที่สุดในโลก จึงได้คุยกับโรนัลโด้เพื่อผลิตรองเท้าที่เบา พัฒนารองเท้า รองเท้ารุ่น Mercurial Vapor ออกมา




นานี่


ชื่อเต็ม หลุยส์ คาร์ลอส อัลเมด้า ดา คุนญ่า
วันเกิด 17 พฤศจิกายน 1986 (อายุ 20 ปี)
สถานที่เกิด ไปรอา, เคป เวอร์เด้
ส่วนสูง 175 ซม.
น้ำหนัก 69 กก.
ตำแหน่ง มิดฟิลด์ตัวรุก
สโมสรเดิม สปอร์ติ้ง ลิสบอน
สัญชาติ โปรตุเกส

ด้วยฟอร์มการเล่นที่โดดเด่นของเขาทำให้ไปเตะตา คาร์ลอส คีรอส โค้ชแมนฯ ยูไนเต็ด และเมื่อเรื่องเข้าถึงหูเซอร์ อเล็กซ์ ภาพของนานี่ เล่นคู่กับโรนัลโด้ ในสนาม ก็ผุดขึ้นมาในสมองของผู้จัดการทีมปีศาจแดง และนั่นก็ทำให้เขาได้เซ็นสัญญามาร่วมทีมแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด ในเดือนพฤษภาคม 2007 ด้วยค่าตัวประมาณ 14 ล้านปอนด์หลุยส์ คาร์ลอส อัลเมด้า ดา คุนญ่า หรือที่เรารู้จักกันในชื่อนานี่ มิดฟิดล์ทีมชาติโปรตุเกส เกิดในเมืองไปรอา เมืองหลวงของสาธารณรัฐเคป เวอร์เด้ และครอบครัวของเขาก็อพยพไปตั้งรกรากอยู่ในโปรตุเกส เขาเติบโตขึ้นในเมืองเล็กๆ ชื่ออามาดอร่า ในลิสบอน และเริ่มเตะฟุตบอลกับทีมเยาวชนของเรียล เดอ มาสซาม่า ซึ่งเป็นทีมที่อยู่นอกเมืองลิสบอน ก่อนจะถูกสปอร์ติ้ง ลิสบอน ดึงตัวไปร่วมทีมในปี 2003

สปอร์ติ้ง ลิสบอน เป็นทีมหนึ่งซึ่งมีชื่อเสียงด้านการปั้นนักเตะที่มีความสามารถโดยเฉพาะใน ตำแหน่งมิดฟิลด์ นับตั้งแต่หลุยส์ ฟิโก้, ซิเมา, คริสเตียโน่ โรนัลโด้, ริคาร์โด้ ควอเรสม่า และตอนนี้ก็เป็นนานี่

หลังจากเล่นในทีมเยาวชนอยู่ 2 ปี เขาก็ได้ขึ้นไปเล่นในทีมชุดใหญ่ด้วยอายุเพียง 18 ปี และในปี 2006/07 ที่ผ่านมา เขาก็ลงเล่นให้ทีมชุดใหญ่ 29 นัดและทำประตูให้ทีม 5 ประตู รวมกับทีมเขาทำได้ในฤดูกาลก่อนหน้านี้อีก 6 ประตูเป็น 11 ประตูจากการลงเล่นให้ทีมชุดใหญ่ทั้งหมด 70 นัด

สำหรับการลงเล่นให้กับทีมชาตินานี่ ลงเล่นให้ทีมชาติโปรตุเกส นัดแรกในวันที่ 1 กันยายน 2006 ในเกมกระชับมิตรกับเดนมาร์ก และเขาก็สามารถทำประตูได้ในนัดนี้ด้วย

นานี่ เป็นนักเตะที่อายุน้อยที่สุดในทีมชาติโปรตุเกสชุดอายุไม่เกิน 21 ปี ที่ลงเล่นฟุตบอลยุโรปในปี 2006 และเขาก็ยังถูกเรียกติดทีมชาติชุดนี้อีกครั้งในปีนี้ด้วย

 

 

 

อันเดอร์ส ลินเดการ์ด

วันเกิด 13 เมษายน 1984  

สถานที่เกิด Dyrup, เดนมาร์ก
ส่วนสูง 6 ฟุต 4 นิ้ว (1.93 เมตร)
ตำแหน่ง ผู้รักษาประตู
หมายเลขเสื้อ 34
ทีมชาติ เดนมาร์ก
สโมสรเดิม อัลเลซุนด์

อันเดอร์ส ลินเดการ์ด ผู้รักษาประตูชาวเดนมาร์กได้ย้ายมาร่วมทีมปีศาจแดงอย่างเป็นทางการในเดือน มกราคมปี 2011 หลังจากที่ 6 สัปดาห์ก่อนหน้านี้เขาได้ตกลงเซ็นสัญญาร่วมทีม และได้ลงฝึกซ้อมกับเพื่อนร่วมทีมแมนฯ ยูไนเต็ด บ้างแล้วในช่วงเดือนธันวาคมปี 2010

ลินเดการ์ด เริ่มอาชีพของเขาด้วยการเล่นให้กับทีม โอเดนเซ่ และเขาได้ลงเล่นนัดแรกในเกมยูฟ่า ที่ทีมพบกับ ราบอตนิคกี้ วันที่ 30 กรกฎาคม 2009 แต่โดยส่วนใหญ่เขาก็ไม่ได้มีส่วนร่วมในทีมมากนัก และถูกยืมตัวไปเล่นให้กับ โคลดิ้ง เอฟซี และลงเล่นให้ทีม 10 นัด หลังจากนั้นเขาก็ได้ถูกยืมตัวไปเล่นให้กับ อัลเลซุนด์ และท้ายที่สุดก็เซ็นสัญญาร่วมทีมเป็นการถาวรในฤดูกาล 2009 และมีส่วนร่วมคว้าถ้วยนอร์วีเจี้ยนคัพกับทีมในปีนี้ด้วย และด้วยฟอร์มการเล่นที่ดีเยี่ยมทำให้ในปีถัดมา เขาได้รับการโหวตให้เป็นผู้รักษาประตูยอดเยี่ยมของนอร์เวย์ และเดนมาร์ก

สำหรับการเล่นให้กับทีมชาติเดนมาร์ก เขาลงเล่นนัดแรกให้กับทีมในเดือนกันยายน 2010 และจากจุดนี้เองก็ทำให้เขากลายเป็นที่สนใจของทีมดังๆ หลายทีม

แน่นอนว่าการย้ายมาร่วมทีมแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด จะทำให้เขาถูกเปรียบเทียบกับปีเตอร์ ชไมเคิ่ล อดีตผู้รักษาประตูร่างยักษ์ของทีมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่ต้องอย่าลืมว่าในขณะนี้เขามีอายุเพียง 26 ปี และเขาก็เพิ่งอยู่ในช่วงเริ่มต้นอาชีพนี้เท่านั้น

เซอร์ อเล็กซ์ เฟอร์กูสัน นายใหญ่ทีมปีศาจแดงกล่าวว่า "อันเดอร์ส เป็นหนึ่งในนักเตะอายุน้อยที่เปล่งแสงส่องสว่างที่สุดในขณะนี้ ความท้าทายที่แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด ทำอยู่เสมอก็คือ การมองไปถึงอนาคต และในกรณีของอันเดอร์ส ก็ถือเป็นการเซ็นสัญญาอีกครั้งหนึ่งเพื่ออนาคต"

ลินเดการ์ด มีชื่อเป็นตัวสำรองนัดแรกให้แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด ในเกมที่พบกับลิเวอร์พูล ในเอฟเอ คัพ รอบที่ 3 เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2011



 

 

 

 

 

คริส  สมอลลิ่ง

 



วันเกิด 22 พฤศจิกายน 1989, กรีนวิช ลอนดอน
ตำแหน่ง กองหลัง
เซ็นสัญญากับแมนฯ ยูไนเต็ด 1 กรกฎาคม 2010
ลงเล่นให้แมนฯ ยูไนเต็ด นัดแรก 8 สิงหาคม 2010 พบกับเชลซี
ทีมชาติ อังกฤษ

คริส สมอลลิ่ง เกิดที่เมืองกรีนวิช ลอนดอน ประเทศอังกฤษ เขาเริ่มเล่นฟุตบอลตั้งแต่อายุ 9 ขวบ แต่เริ่มเล่นฟุตบอลสโมสรจริงๆ จังๆ ให้กับเมดสโตน ยูไนเต็ด จนกระทั่งไปเข้าตาฟูแล่ม ทีมจากพรีเมียร์ ลีก อังกฤษ จึงได้ย้ายไปร่วมทีมฟูแล่ม ในเดือนมิถุนายน 2008 แต่ได้ลงเล่นพรีเมียร์ ลีก ให้ฟูแล่มนัดแรกในเดือนพฤษภาคม 2009 โดยลงเล่นแทนอารอน ฮิวจ์ส ในนาทีที่ 77 ในเกมที่แพ้เอฟเวอร์ตัน 2 - 0

ในเดือนธันวาคม 2009 สมอลลิ่ง ลงเล่นเป็นตัวจริงในพรีเมียร์ ลีก นัดแรก ในเกมที่แพ้เชลซี 2 - 1 แต่ในเกมนี้เขาทำเข้าประตูตัวเองในนาทีที่ 75

ในการเล่นให้กับฟูแล่มภายใต้การคุมทีมของรอย ฮอดจ์สัน ในขณะนั้น เขาเป็นกองหลังที่มีความเร็วและมีความฉลาด ทำให้เขามีชื่อติดทีมชาติอังกฤษชุดอายุไม่เกิน 21 ปี รวมถึงเรียกความสนใจจากทีมแมวมองของแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด ได้ และหลังจากอยู่กับฟูแล่ม ได้เพียง 18 เดือน แมนฯ ยูไนเต็ด ก็ดึงตัวเขามาร่วมทีมโดยเซ็นสัญญากันตั้งแต่เดือนมกราคม 2010 แต่ได้มาร่วมทีมเมื่อสิ้นสุดฤดูกาล 2009/10 คือเดือนกรกฎาคม 2010

ในขณะนั้นเซอร์ อเล็กซ์ ได้พูดถึงสมอลลิ่งว่าเป็น "กองหลังหนุ่มผู้มีพรสวรรค์ ซึ่งถูกแมวมองของทีมติดตามดูฟอร์มมาหลายเดือนแล้ว"

"เขามีความเร็ว และอ่านเกมได้ดี เขาจะเป็นสินทรัพย์ที่ล้ำค่าของสโมสร จะได้ลงเล่นเคียงข้างกองหลังที่ดีที่สุด และเราก็ดีใจที่ดึงเขามาเซ็นสัญญาได้"

สมอลลิ่ง ลงเล่นนัดแรกให้แมนฯ ยูไนเต็ด (อย่างไม่เป็นทางการ) ในช่วงปรีซีซั่นกับเซลติก และเขาก็ทำประตูให้ทีมได้จากการโหม่งลูกเปิดของดาร์รอน กิ๊บสัน ในเกมที่แพ้ชีวาส กัวดาลาจาร่า 3 - 2 ซึ่งเป็นเกมในช่วงปรีซีซั่นนี้เช่นกัน

ส่วนการลงเล่นอย่างเป็นทางการนัดแรกให้แมนฯ ยูไนเต็ด คือเกมคอมมูนิตี้ ชิลด์ ที่พบกับเชลซี ในวันที่ 8 สิงหาคม 2553 เขาลงเล่นในพรีเมียร์ ลีก นัดแรกในเกมที่ชนะเวสต์ แฮม 3 - 0 ในวันที่ 28 สิงหาคม 2553 และนัดแรกในแชมเปี้ยนส์ ลีก ในเกมที่เสมอกับเรนเจอร์ส 0 - 0 และหลังจากนั้นอีก 8 วันเขาก็ทำประตูแรกอย่างเป็นทางการให้แมนฯ ยูไนเต็ด ในเกมลีกคัพ ที่เอาชนะสคันธอร์ป 5 - 2



ฮาเวียร์ "ชิชาริโต้" เฮอร์นันเดซ



วันเกิด 1 มิถุนายน 1988
สถานที่เกิด กัวดาลาจารา, เม็กซิโก
ตำแหน่ง ศูนย์หน้า
หมายเลขเสื้อ 14
ย้ายมาร่วมทีม 1 กรกฎาคม 2010
ลงเล่นนัดแรกให้แมนฯ ยูไนเต็ด 8 สิงหาคม 2010 พบกับเชลซี ในศึกคอมมิวนิตี้ ชิลด์
ทีมชาติ เม็กซิโก

ฮาเวียร์ "ชิชาริโต้" เฮอร์นันเดซ ย้ายมาร่วมเล่นในถิ่นโอลด์ แทร็ฟฟอร์ด อย่างเป็นทางการในเดือนกรกฎาคม 2010 และกลายเป็นนักเตะเม็กซิกัน คนแรกของแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด

เฮอร์นันเดซ ย้ายมาจากทีมชีวาส เดอ กัวดาลาจารา ซึ่งเป็นทีมในบ้านเกิดของเขา เขาเริ่มเล่นให้ทีมตั้งแต่ปี 2006 ลงเล่นทั้งหมด 79 นัด ทำประตูให้ทีมได้ 29 ประตู

การเจรจาซื้อตัวเจ้าหนุ่มชิชาริโต้เป็นไปด้วยความเงียบเชียบ ซึ่งเป็นเรื่องที่ไม่ได้เกิดขึ้นบ่อยนักกับทีมยักษ์ใหญ่อย่างแมนฯ ยูไนเต็ด มีเพียงสโมสร ตัวนักเตะเอง และพ่อของเขาเท่านั้นที่รับทราบ และทำการเจรจาตกลงกันเรื่องการย้ายทีม แม้แต่สื่อไม่ว่าจะเป็นสื่อในเม็กซิโก หรืออังกฤษ ก็ไม่มีสื่อไหนรู้

"ชิชาริโต้" หมายถึง "ถั่วน้อย" ชื่อนี้มาจากการที่เขาเป็นลูกชายของฮาเวียร์ เฮอร์นันเดซ ศูนย์หน้าเม็กซิกันผู้โด่งดัง และมีชื่อในทีมชาติเม็กซิกันชุดสู้ศึกฟุตบอลโลกปี 1986 และเฮอร์นันเดซ ผู้พ่อ ก็มีฉายาว่า "ชิชาโร" หรือที่แปลว่า "ถั่ว" เพราะว่าเขามีดวงตาสีเขียว

ด้วยความเป็นศูนย์หน้าที่มีความคล่องแคล่ว ชิชาริโต้ เป็นนักเตะที่มีความเร็วสูง สามารถเล่นได้ทั้ง 2 เท้า เล่นลูกโหม่งได้ดี และสร้างสรรค์เกมที่มีคุณภาพ ซึ่งการเล่นของเขาทำให้เรานึกถึงนักเตะในตำนานของแมนฯ ยูไนเต็ด คนหนึ่งนั่นก็คือ โอเล่ กุนนาร์ โซลชาร์

ในการเล่นทีมชาติ เขาได้ทำให้ทุกคนประทับใจมาแล้วจากการทำประตู 2 ประตูให้กับทีมชาติเม็กซิโก ในฟุตบอลโลกปี 2010 การทำประตูในทัวนาเมนต์นี้ได้เปิดตัวเขาต่อแฟนฟุตบอลทั่วโลก และนั่นก็เป็นเหตุผลหนึ่งที่แมนฯ ยูไนเต็ด เร่งคว้าตัวเขามาร่วมทีม

"เราเริ่มทำความรู้จักเขาตั้งแต่เดือนตุลาคมปี 2009" เซอร์ อเล็กซ์ เฟอร์กูสัน กล่าว

"แมวมองของเราไปที่เม็กซิโก ในเดือนธันวาคม และได้ดูเขาเล่น 2-3 เกม รายงานผลของแมวมองออกมาว่าเขาเล่นได้ดีมาก ในตอนนั้นเราก็คิดว่าเราจะรออีกซักหน่อยเพราะตอนนั้นเขายังเด็กอยู่"

"แต่หลังจากนั้น เขาก็ติดทีมชาติ และผมคิดว่านั่นอาจจะสร้างปัญหาให้เรานิดหน่อย เพราะว่าถ้าเขาได้ร่วมเล่นในฟุตบอลโลก และเล่นได้ดี มันก็อันตรายทีเดียวที่เราอาจจะต้องเสียเขาไปให้กับทีมอื่น"

"ดังนั้น ผมจึงส่งหัวหน้าแมวมองของเรา จิม ลอว์เลอร์ ไปที่เม็กซิโกเป็นเวลา 3 สัปดาห์เพื่อดูเขาเล่น รวมทั้งศึกษาข้อมูลของเขาให้มากขึ้น รายงานของจิมเกี่ยวกับตัวเด็กคนนี้ยอดเยี่ยมมาก ดังนั้น เราจึงส่งทนายความของสโมสรไปทำข้อตกลงในการย้ายทีม และเราก็ดีใจมากที่ได้เซ็นสัญญากับเขา"


 



ไมเคิล โอเว่น

วันเกิด 14 ธันวาคม 1979
เกิดที่ เมืองเชสเตอร์ ประเทศอังกฤษ
ตำแหน่ง กองหน้า
หมายเลข 7
เซ็นสัญญาร่วมทีมแมนฯ ยูไนเต็ด 3 ก.ค. 2009
ทีมชาติ อังกฤษ

การย้ายมาร่วมเล่นในถิ่นโอลด์ แทรฟฟอร์ด ของเขาในเดือนกรกฎาคม 2009 อาจทำให้หลายๆ คนต้องประหลาดใจ แต่ก็ไม่มีใครจะปฏิเสธได้ว่าไมเคิล โอเล่น อดีตศูนย์หน้าทีมลิเวอร์พูล คนนี้แหละ ที่เป็นเพชรฆาตล่าตาข่ายที่ดีที่สุดคนหนึ่งในประวัติศาสตร์ฟุตบอลอังกฤษใน ช่วง 1 - 2 ทศวรรษที่ผ่านมา
 
ศูนย์หน้าผู้ถือกำเนิดจากเมืองเชสเตอร์ คนนี้ ทำประตูมากกว่า 200 ประตูให้ทีมลิเวอร์พูล, รีล มาดริด และนิวคาสเซิ่ล และทำอีก 40 ประตูให้กับทีมชาติอังกฤษ ในการลงเล่นทั้งหมด 89 นัด ก่อนที่จะย้ายมาร่วมเป็นหนึ่งในขุนพลของเซอร์ อเล็กซ์ เฟอร์กูสัน

โอเว่น เริ่มต้นชีวิตค้าแข้งกับทีมลิเวอร์พูล ทีมซึ่งเขาใช้ชีวิตด้วยตั้งแต่เด็ก และเขาก็สามารถทำประตูให้ทีมชุดใหญ่ได้ตั้งแต่การลงเล่นในเกมแรกให้ทีมด้วย อายุเพียง 17 ปี ด้วยฝีเท้าที่รวดเร็ว คล่องแคล่ว การเคลื่อนไหวที่ยากจะจับได้ และการปิดสกอร์ที่เชี่ยวชาญ ทำให้การเปิดตัวของเขาในพรีเมียร์ ลีก เป็นไปอย่างยอดเยี่ยม และเขาก็ใช้เวลาเพียงไม่นานเลยให้การพิสูจน์ตัวเองว่าเหมาะที่จะมีชื่อติด ทีมชาติอังกฤษ

ฟุตบอลโลกปี 1998 ที่ฝรั่งเศส ถือเป็นการเปิดตัวให้ทีมชาติที่ยอดเยี่ยมของโอเว่น เมื่อเขาทำประตูที่น่าเหลือเชื่อให้กับทีมชาติอังกฤษได้ในเกมที่พบกับทีมชา ติอาร์เจนติน่า ในขณะที่ในเกมนั้นเองก็เกิดใบแดงที่อื้อฉาวของเดวิด เบ็คแฮม มิดฟิลด์แมนฯ ยูไนเต็ด ในขณะนั้น ทำให้เขาตกเป็นแพะที่ทำให้ทีมชาติอังกฤษต้องเหลือเพียง 10 คน และต้องยิงลูกโทษเพื่อตัดสินทีมเข้ารอบ แต่ในเกมนั้นโอเว่นคือผู้ที่ถูกยกย่องให้เป็นฮีโร่ของทีมชาติอังกฤษ

อาชีพค้าแข้งของเขากับลิเวอร์พูลดำเนินไปอย่างยอดเยี่ยมปีแล้วปีเล่า และในปี 2001 ก็เป็นปีที่ยอดเยี่ยมของเขา เมื่อเขาเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยทีมลิเวอร์พูล คว้า 3 แชมป์ทั้งยูฟ่า คัพ, เอฟเอ คัพ และลีก คัพ นอกจากนี้เกมทีมชาติเขาสามารถทำแฮตทริกได้ในเกมที่พบกับทีมชาติเยอรมัน ซึ่งนั่นก็ให้เขาคว้าถ้วยบัลลงดอร์ และถ้วยนักเตะยอดเยี่ยมแห่งปีของฟีฟ่าไปครอง

ไมเคิลย้ายออกจากลิเวอร์พูลหลังจากใช้ชีวิตอยู่กับทีมเป็นเวลา 8 ปีที่รุ่งโรจน์ พร้อมกับการมาของผู้จัดการทีมคนใหม่ ราฟาเอล เบนิเตซ โดยไมเคิลย้ายไปเล่นให้กับรีล มาดริด แต่แม้ว่าเขาจะย้ายไปเล่นในลาลีกาเพียง 1 ฤดูกาล แต่เขาก็ทำประตูได้ถึง 14 ประตูในการลงเล่น 22 นัดให้กับรีล มาดริด ก่อนที่จะย้ายไปเล่นให้กับนิวคาสเซิ่ลด้วยค่าตัว 16 ล้านปอนด์

แต่ชีวิตในเซนต์ เจมส์ ปาร์ค ของเขาไม่สวยหรูนัก เมื่อเขาต้องพบกับอาการบาดเจ็บรุมเร้าอยู่ตลอด จากการอยู่กับเดอะ แมกพายส์ 4 ฤดูกาลเขาได้ลงเล่นเพียง 65 นัด และทำประตูได้ 30 ประตู ก่อนที่สัญญาของเขากับทีมจะหมดลงในช่วงซัมเมอร์ปี 2009 และนั่นก็เป็นจุดที่เปิดโอกาสให้เซอร์ อเล็กซ์ เฟอร์กูสัน ได้คว้าตัวเขามาร่วมทีมแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด แบบไม่เสียค่าตัว ด้วยสัญญา 2 ปี

และก็ต้องถือว่าเขาเปิดตัวกับทีมปีศาจแดงได้ดีทีเดียว เมื่อการลงเล่นอย่างไม่เป็นทางการนัดแรกของเขาในการทัวร์เอเชียกับทีม เขาก็สามารถทำประตูให้ทีมได้ในเกมที่พบกับมาเลเซีย เกมแรก จากการเปิดบอลของไรอัน กิ๊กส์ และจากนั้นเขาก็ยังสามารถทำประตูได้ในเกมที่สองที่พบกับมาเลเซีย อีกครั้ง ถือว่าเขาเปิดตัวกับทีมใหม่ได้อย่างน่าสนใจทีเดียว



 







เวย์น รูนี่ย์ มีชื่อเต็มว่า เวย์น มาร์ค รูนี่ย์ เกิดเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม ปี 1985 ที่เมืองลิเวอร์พูล ประเทศอังกฤษ และเขาก็เริ่มต้นอาชีพนักเตะด้วยการเข้าร่วมทีมเยาวชนของเอฟเวอร์ตัน อีกหนึ่งสโมสรดังในเมืองลิเวอร์พูล

ด้วย ฝีเท้าที่ฉกาจกรรจ์เกินวัย บวกกับพรสวรรค์ที่มีอยู่เต็มเปี่ยม ทำให้ รูนี่ย์ เติบโตขึ้นในวงการลูกหนังได้อย่าง ไม่อยากเย็น โดยตอนที่อายุ 14 ปี เขาก็ได้เลื่อนขึ้นมาเล่นในทีมเยาวชนชุดไม่เกินอายุ 19 ปี แล้ว และสามารถรับมือกับบรรดานักเตะที่อายุมากกว่าได้สบายๆ

ในวัย 16 ปี เขาก็โดน เดวิด มอยส์ กุนซือของเอฟเวอร์ตัน ดึงตัวขึ้นมาสู่ทีมชุดใหญ่แล้ว และก็แจ้งเกิดในพรีเมียร์ลีก ด้วยการซัดประตูสุดสวยช่วยให้ เอฟเวอร์ตัน เอาชนะ อาร์เซน่อล ไปได้ 2-1 เมื่อเดือนตุลาคม ปี 2002 และประตูชัยของรูนี่ย์ ก็หยุดสถิติไม่พ่ายแพ้มานานถึง 30 นัด ของ อาร์เซน่อล ลงไปได้

เท่านั้นยังไม่พอ รูนี่ย์ ยังมาทำลายสถิติเป็นนักเตะอายุน้อยที่สุดที่ลงเล่นให้กับทีมชาติอังกฤษ ด้วยวัย 17 ปี กับ 111 ในตอนที่เขาลงสนามในนัดที่ อังกฤษ พบกับ ออสเตรเลีย เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ ปี 2003 ทำลายสถิติเดิมของ เจมส์ ปรินเซป ที่ยาวนานมากว่า 124 ปี ลงได้

หลังจากนั้นอีก 7 เดือน เขาก็กลายเป็นผู้เล่นอายุน้อยที่สุดที่ทำประตูให้กับทีมชาติอังกฤษได้ เมื่อยิงประตู มาเซโดเนีย ได้สำเร็จ ในการทำศึกฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป ปี 2004 รอบคัดเลือก โดยตอนนั้นเขามีอายุ 17 ปี กับอีก 317 วัน
โคลิน ฮาร์วี่ย์ อดีตโค้ชของรูนี่ย์ ในทีมเยาวชนของเอฟเวอร์ตัน เคยกล่าวไว้ว่านามฟุตบอลก็เหมือนสนามเด็กเล่นของรูนี่ย์ เขาสนุกกับมัน และวิงพล่านไปทั่วสนาม ถึงแม้ว่าจะเป็นกองกน้า แต่ก็ลงไปช่วงล้วงบอล แย่งบอลในแผงกองกลางอยู่เสมอ แถมบางทียังโผล่ไปช่วยเกมรับอีกด้วย

รูนี่ย์ แจ้งเกิดในระดับนานาชาติได้อย่างเต็มตัว ในฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป รอบสุดท้าย ปี 2004 ที่ประเทศโปรตุเกส เป็นเจ้าภาพ เมื่อเขาเล่นได้อย่างโดดเด่น และทำได้ 4 ประตู พา อังกฤษ ผ่านเข้าถึงรอบก่อนรองชนะเลิศ ไปพบกับ โปรตุเกส และความหวังของ อังกฤษ ก็พังทลายลงเมื่อ รูนี่ย์ ได้รับบาดเจ็บ จนถูกเปลี่ยนตัวออกจากสนาม และ อังกฤษ ที่ไร้ รูนี่ย์ ก็แพ้ โปรตุเกส ไปในที่สุด ในการดวลจุดโทษ

หลังจากที่โด่งดังขึ้นมากับ เอฟเวอร์ตัน ในที่สุด รูนี่ย์ ก็โดนทีมยักษ์ใหญ่ อย่าง แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด ทุ่มเงินถึง 27 ล้านปอนด์ กระชากตัวมาร่วมทีม ซึ่งตอนแรกๆใครๆก็คิดว่า แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด เสี่ยงไปไหมในการทุ่มเงินจำนวนดังกล่าว เพื่อนักเตะที่อายุยังไม่ถึง 20 ปี คนหนึ่ง

แต่ในท้ายที่สุด รูนี่ย์ ก็แสดงให้เห็นว่าเงินจำนวนนั้น ไม่ได้แพงเกินฝีเท้าของเขาเลย เมื่อเขาทำแฮตทริกได้ทันทีในการลงสนามให้กับ “ปีศาจแดง” ในนัดที่เอาชนะ เฟเนร์บาห์เช่ ในศึกยูฟ่า แชมเปี้ยนส์ ลีก ก่อนจะจบฤดูกาล 2004/2005 ด้วยการลงสนามไป 29 นัด ทำได้ 11 ประตู ในฐานะของกองหน้าตัวต่ำ และคว้ารางวัลนักเตะดาวรุ่งยอดเยี่ยมของอังกฤษ มาครองได้

ในฤดูกาล 2005/2006 รูนี่ย์ ก็ยังทำผลงานได้ดี จนพา แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด คว้าแชมป์ลีก คัพ มาครอง ด้วยการเอาชนะ วีแกน 4-0 ในรอบชิงชนะเลิศ โดยที่ รูนี่ย์ ทำได้ 2 ประตู และนี่ก็คือแชมป์รายการแรกในอาชีพค้าแข้งของเขา

รู นี่ย์ ได้รับการยกย่องว่าเป็นนักเตะที่พรสวรรค์สูงที่สุดของอังกฤษ นับตั้งแต่หมด พอล แกสคอยน์ กองกลางอัจฉริยะของพวกเขา แต่กว่า แกซซ่า จะติดทีมชาติก็อายุ 22 ปีแล้ว ขณะที่ รูนี่ย์ เป็นกำลังสำคัญของทีม “สิงโตคำราม” ตั้งแต่อายุ 18 ปี
สเวน โกรัน อีริคส์สัน เคยกล่าวยกย่อง รูนี่ย์ ว่าจะกลายเป็นตำนานลูกหนังของโลก เช่นเดียวกับ เปเล่ ของบราซิล โดยที่ หลุยส์ เฟลิเป้ สโคลารี่ กุนซือทีมชาติโปรตุเกส ตอบคำถามนักข่าวที่ถามถึงการเปรียบเทียบกันระหว่าง เปเล่ กับ รูนี่ย์ ว่า “ก็แค่คนหนึ่งผิวดำ ส่วนอีกคนหนึ่งผิวขาว เท่านั้น” จนทำให้แฟนบอลแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด บางกลุ่ม เรียก รูนี่ย์ ว่า “เอล บลังโก้ เปเล่”

รูนี่ย์ เป็นกำลังสำคัญที่ช่วยพา อังกฤษ ผ่านเข้ารอบสุดท้ายฟุตบอลโลก 2006 แม้ว่าเขาจะยิงประตูไม่ได้ แต่ก็ช่วยสร้างสรรค์เกม และจ่ายบอลให้กับเพื่อนร่วมทีมหาจังหวะทำประตูได้

อย่างไรก็ตาม รูนี่ย์ กลับพบโชคร้าย เมื่อได้รับบาดเจ็บกระดูกฝ่าเท้าขวาแตก ในการลงสนามนัดที่ แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด แพ้ เชลซี 0-3 ในศึกพรีเมียร์ชิพ เมื่อวันที่ 29 เมษายน ที่ผ่านมา และคาดว่าเขาจะต้องพักอย่างน้อย 6 สัปดาห์ หรือกว่าจะฟิตสมบูรณ์กลับมาลงสนามได้ในฟุตบอลโลก ก็ต่อเมื่อจบรอบแรก ไปแล้ว แต่ สเวน โกรัน อีริคส์สัน กุนซือทีมชาติอังกฤษ ก็ยังมั่นใจในตัวลูกทีมรายนี้ และใส่ชื่อเขาไปลุย เยอรมัน 2006 แม้ว่าจะโดนวิจารณ์อย่างหนัก นั่นแสดงให้เห็นถึงความสำคัญของ รูนี่ย์ ได้เป็นอย่างดี แหล่งข้อมูล








ประวัติของ เนมานย่า วิดิช

 

เนมานย่า วิดิช

ใน เวลานี้ น้อยคนนักที่จะไม่รู้จักสุดยอดปราการหลังของ"ปีศาจแดง" แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ดผู้นี้ ซึ่งดูเหมือนว่าได้ก้าวมาเป็นหัวใจสำคัญของเกมส์รับแทนริโอ เฟอร์ดินานเสียแล้ว 

ก่อนการ ย้ายมาร่วมทีมสปาร์ตัก มอสโคว์ ในเดือนกรกฎาคม 2004 ด้วยค่าตัว 4 ล้านปอนด์ เขาเริ่มต้นการเล่นฟุตบอลอาชีพที่สโมสรเรด สตาร์ เบลเกรด ซึ่งในตอนนั้นที่ยังเป็นนักเตะดาวรุ่งอยู่ เขาทำได้ 12 ประตูจากการลงเล่น 67 นัด และยังได้เป็นกัปตันทีมอีกด้วย 

แม้ว่า อายุยังน้อย วิดิช ก็ลงเล่นเป็นตัวจริงอย่างสม่ำเสมอในตำแหน่งหัวใจสำคัญของแผงกองหลังสปาร์ตัก มอสโคว์ ในช่วง 2 ปีที่ผ่านมาก่อนที่จะย้ายทีมครั้งสำคัญในชีวิตมาสู่สโมสรแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด

การได้รับใบเหลืองเพียง 12 ใบจากการลงเล่น 30 นัดให้กับสปาร์ตัก มอสโคว์ ในปี 2005 ทำให้วิดิช ได้รับชื่อเสียงอย่างรวดเร็วในฐานะเซ็นเตอร์ฮาล์ฟที่เล่นอย่างฉลาดและมีความ สามารถในการเล่นลูกกลางอากาศที่ดีเยี่ยม

จาก ฟอร์มการเล่นที่โดดเด่นในการลงเล่นให้กับทีมชาติเซอร์เบียและมอนเตเนโกร ในฟุตบอลโลก รอบคัดเลือก ปี 2005 จนกระทั่งผ่านเข้าไปเล่นฟุตบอลโลก รอบสุดท้าย ในปี 2006 ที่เยอรมันได้สำเร็จ จึงไม่น่าแปลกใจที่หลายสโมสรชั้นนำในยุโรปต่างมาเคาะประตูของสปาร์ตัก มอสโคว์ ถามหากองหลังที่ชื่อเนมานย่า วิดิช

จาก การเสียไปเพียงประตูเดียวในรอบคัดเลือก (ราอูล ของสเปนเป็นผู้พังประตูได้) แผงกองหลังของทีมชาติเซอร์เบียฯ จึงมีชื่อเสียงโด่งดังขึ้นมาอย่างรวดเร็ว โดยวิดิช ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นดาวเด่นของแผงกองหลังชุดนี้

ใน นัดสุดท้ายของฟุตบอลโลก รอบคัดเลือก โซนยุโรป กลุ่ม 7 ที่ทีมชาติเซอร์เบียฯ เอาชนะทีมชาติบอสเนียฯ ไปได้ 1-0 วิดิช เล่นได้อย่างยอดเยี่ยมแม้ว่าเขาจะได้รับใบแดงถูกไล่ออกจากสนามไปก่อนหมดเวลา 5 นาทีก็ตาม

แม้ว่าสโมสรอย่างลิเวอร์พูล และฟิออเรนติน่า จะแสดงความสนใจออกมา อย่างไรก็ตาม กองหลังวัย 24 ปีรายนี้ทำให้กองเชียร์ปิศาจแดง ทั่วโลกพึงพอใจด้วยการเซ็นสัญญาระยะเวลา 4 ปีย้ายเข้ามาร่วมชายคาโอลด์ แทรฟฟอร์ด ในเดือนมกราคม 2006

ด้วย ความสูง 188 เซนติเมตร และสไตล์การเล่นแบบดุดันแข็งแกร่ง ก็คงหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะนำวิดิช ไปเปรียบเทียบกับอดีตยอดกองหลังของแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด อย่างเช่น สตีฟ บรูซ และยาป สตัม ในช่วงที่มีการเซ็นสัญญากับสโมสร

แต่ เมื่อตอนที่มาถึงเมืองแมนเชสเตอร์ เขาพยายามหลีกเลี่ยงการนำไปเปรียบเทียบดังกล่าว "เมื่อตอนที่ผมยังเป็นเด็กก็มีนักเตะเก่งๆ หลายคน แต่ที่จริงแล้วผมไม่ได้พยายามเอาอย่างหรือเลียนแบบนักเตะคนใดทั้งนั้น และผมก็ไม่มีนักเตะที่เป็นต้นแบบโดยเฉพาะแต่อย่างใด" เขากล่าว

"ผมพยายามที่จะเป็นตัวของตัวเอง เล่นในสไตล์ของผมเอง และสร้างรูปแบบของตัวเองขึ้นมา"

ใน ฤดูกาล 2008/09ที่ผ่านมา ชื่อเสียงของวิดิชเริ่มเป็นที่ยอมรับ ฟอร์มของเขาดีกว่าฤดูกาลก่อนๆเป็นอย่างมาก เขาเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ทีมปีศาจแดงไม่เสียประตูติดต่อกันถึง 14 นัด จนกระทั่งมีชื่อเข้าลุ้นรางวัลนักเตะยอดเยี่ยมแห่งปี ของพีเอฟเอ (PFA Player of the Year) ซึ่งถ้าว่ากันตรงๆแล้ว นอกจาก 2 นัดที่แพ้ให้ลิเวอร์พูล ซึ่งวิดิชฟอร์มหลุดอย่างไม่น่าเชื่อ เพราะเจอทีมเทพเข้าไป นอกเหนือจากนั้นถือว่ามีผลงานที่ดีมาก ผลจบฤดูกาล แมนยูคว้าแชมป์ และเขาก็ได้รางวัล "นักเตะยอดเยี่ยมในใจแฟนๆ" และ "นักเตะยอดเยี่ยมแห่งปี" ไปครอง

vidic
ฟอร์มของวิดิช ออกทะเลอย่างไม่เชื่อสายตาแฟนๆเรดอาร์มี่ เมื่อเจอกับลิเวอร์พูล

เกียรติยศที่เคยได้รับกับอดีตสโมสรต้นสังกัด

เรด สตาร์ เบลเกรด

ปี 2002 - แชมป์เอฟเอ คัพ ของยูโกสลาเวีย
ปี 2004 - แชมป์ลีก ของเซอร์เบียฯ
ปี 2004 - แชมป์เอฟเอ คัพ ของเซอร์เบียฯ

แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด

แชมป์พรีเมียร์ลีก : 2006–07, 2007–08, 2008–09 
แชมป์ลีกคัพ : 2005–06, 2008–09 
แชมป์เอฟเอคัพ : 2007, 2008
ยูฟ่า แชมเปี้ยนลีก : 2007–08
แชมป์สโมสรโลก : 2008







 

เอ็ดวิน ฟาน เดอร์ ซาร์

เอ็ด วิน ฟาน เดอร์ ซาร์ เป็นนักฟุตบอลคนหนึ่งที่มีประสบการณ์สูง มีเหรียญรางวัลมากมายที่การันตีความมีประสบการณ์ของเขา รวมไปถึงการเป็นผู้รักษาประตูให้กับทีมชาติฮอลแลนด์ อีกเกือบ 100 นัด ความสามารถของเขามีมากมายโดยไม่ต้องสงสัย เขามีความคล่องแคล่วว่องไว รวมทั้งเป็นผู้รักษาประตูที่เซฟลูกกลางอากาศได้ดีมากคนหนึ่งด้วย

เอ็ด วิน เป็นนักฟุตบอลชาวดัทช์ คนที่หกของแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด ต่อจากอาร์โนลด์ มูร์เรน, ไรม่อน ฟาน เดอร์ ฮาว, จอร์ดี้ ครัฟฟ์, ยาป สตัม และ รุด ฟาน นิสเตลรอย

เขาเติบโตมาในทีมเยาวชนของ อาแจ็กซ์ และเขาก็คว้าแชมป์ยุโรปเป็นครั้งแรกของตัวเองกับ อาแจ็กซ์ อัมสเตอร์ดัม เมื่อทีมของเขาสามารถเอาชนะโตริโน่ ได้ในศึกยูฟ่า คัพ ปี 1991/92 โดยในปี 1996 เขาสามารถทำประตูได้ 1 ลูกด้วย

แชมป์ ยุโรปครั้งที่สองของเขาเกิดขึ้น 3 ปี หลังจากนั้น เมื่อเขามีส่วนช่วยให้ทีมเอาชนะเอซี มิลาน ในปี 1994/95 ในศึกยูฟ่า แชมเปี้ยนส์ ลีก แต่ในปีต่อๆ มาเขาก็ไม่สามารถคว้าแชมป์ได้เมื่อทีมของเขาพ่ายจุดโทษต่อ ยูเวนตุส ในปี 1996

อาชีพค้าแข้งของเขากับ อาแจ็กซ์ ยังทำให้เขาได้คว้าแชมป์ ยูโรเปี้ยน ซูเปอร์ คัพ รวมทั้งแชมป์ลีกฮอลแลนด์อีก 4 ครั้ง ก่อนที่เขาจะย้ายไปเล่นให้กับทีมยักษ์ใหญ่จากอิตาลีอย่าง ยูเวนตุส ในปี 1999 ซึ่งในปีนั้นเองที่ เซอร์ อเล็กซ์ เฟอร์กูสัน ได้ให้ความสนใจที่จะคว้าตัวเขามาแทนที่ ปีเตอร์ ชไมเคิล แต่ไม่ประสบความสำเร็จ

หลังจากสองฤดูกาลในตู รินกับยูเวนตุส เขาก็ต้องมองหาทีมใหม่เมื่อ ยูเว่ ได้เซ็นสัญญาซื้อตัว จิอันลุยจิ บุฟฟ่อน เข้ามา และในตอนนั้นเอง ฌอง ติกาน่า ของฟูแล่ม ก็ไม่รอช้าที่จะคว้าตัวเขาเข้าไปร่วมทีม ด้วยค่าตัว 5 ล้านปอนด์ และ ฟาน เดอร์ ซาร์ ก็ลงเล่นนัดแรกให้กับฟูแล่ม ในนัดที่พบกับ แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด ในโอลด์ แทรฟฟอร์ด เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2001

a

ความ สามารถของเขาพิสูจน์ให้ทุกคนเห็นได้ชัดยิ่งขึ้นกับผลงานในทีมชาติ เมื่อเขามีความโดดเด่นในการเล่นให้กับทีมชาติฮอลแลนด์ ช่วยให้ทีมเขาถึงรอบ semi-final ของฟุตบอลโลกในปี 1998 รวมถึงศึกยูโร 2000 และ 2004 ด้วย

ใน ทัวร์นาเม้นต์ ฟุตบอลโลก 2006 ฟานเดอซาร์ ก็ติดทีมชาติเป็นมือหนึ่งของทีม แต่ก็ช่วยให้ทีมได้เข้ารอบไปแค่รอบ 16 ทีมสุดท้ายเท่านั้น เพราะดันพลาดไปโดน มานิเช่ ของโปรตุเกส ซัดไป 1 ลูก ให้โปรตุเกสเฉือนเอาชนะไปได้


















ชื่อเต็ม แอนเดอร์สัน หลุยส์ เดอ อาบรู โอลิเวียร่า
วันเกิด 13 เมษายน 1988 (อายุ 19 ปี)
สถานที่เกิด ปอร์โต้ อเลเกร, บราซิล
ส่วนสูง 176 ซม.
ตำแหน่ง มิดฟิลด์ตัวรุก, ปีก, ศูนย์หน้า
สโมสรเดิม เอฟซี ปอร์โต้
สัญชาติ บราซิล

แอนเดอร์สัน หรือชื่อเต็ม แอนเดอร์สัน หลุยส์ เดอ อาบรู โอลิเวียร่า เกิดในเมือง ปอร์โต้ อเลเกร ประเทศบราซิล ในวันที่ 13 เมษายน 1988 เป็นนักฟุตบอลชาวบราซิล เริ่มต้นอาชีพค้าแข้งกับ เกรมิโอ โดยเป็นนักเตะเยาวชนของทีมในปี 1993 และในปี 2004 เขาได้ลงเล่นนัดแรกให้กับทีม และจากการลงเล่น 5 ครั้งเขาก็ทำประตูให้ทีมได้ 1 ประตู ในเกมที่พบกับ นอติโก้

ในเดือนเมษายน 2005 เขาได้ลงเล่นให้กับทีมชาติบราซิล ชุดอายุไม่เกิน 17 ปี และในเดือนตุลาคม ปีเดียวกันเขาก็คว้ารางวัลรองเท้าทองคำจาก อาดิดาส กับการเล่นให้ทีมชาติบราซิล ชุดนี้

เขาเข้าร่วมทีมเอฟซี ปอร์โต้ ในเดือนธันวาคม หลังจากลงเล่นให้ เกรมิโอ ได้เพียง 5 ครั้ง และเขาก็ลงเล่นนัดแรกให้ปอร์โต้ ในวันที่ 5 มีนาคม 2006 และยังเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยคว้าแชมป์ลีกโปรตุเกส ให้กับทีมในฤดูกาลนั้น

ฤดูกาลถัดมาแอนเดอร์สัน ก็ได้ลงเล่นในยูฟ่า แชมเปี้ยนส์ ลีก นัดแรกกับปอร์โต้ ในเกมที่พบกับซีเอสเค มอสโกว

และในวันที่ 30 พฤษภาคม 2007 แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด ก็ได้ออกมาประกาศอย่างเป็นทางการว่า ทีมได้ตกลงเซ็นสัญญากับ แอนเดอร์สัน จากเอฟซี ปอร์โต้ เรียบร้อยแล้วด้วยค่าตัวราว 17 ล้านปอนด์










ประวัติ ไรอัน กิ๊กส์


ประวัติ ไรอัน กิ๊กส์

เกิด 29/11/1973
เมืองเกิด คาร์ดิฟฟ์
ตำแหน่ง มิดฟิลด์
หมายเลขเสื้อ ฤดูกาล 2004-2005 11

ไร อัน กิ๊กส์ ย้ายจาก เวลส์ มาอยู่ที่อังกฤษ ตั้งแต่อายุ 7 ขวบ ในตอนนั้นเขาเล่นให้กับทีมเยาวชนของสโมสร ดีน ซึ่งเป็นที่แรกที่เขาได้เรียนรู้การเล่นฟุตบอล โค้ชของเขาในตอนนั้นคือ เดนิส สโคฟิลด์ ซึ่ง กิ๊กส์ ถูก เดนิส ส่งไปเล่นให้กับ แมนเชสเตอร์ ซิตี้ จนกระทั่งอายุได้ 14 ปี ในวันเกิดปีที่ 14 ของเขา อเล็กซ์ เฟอร์กูสัน ได้เดินทางไปที่บ้านของเขาใน สวินตัน เมืองแมนเชสเตอร์ เพื่อติดต่อนักฟุตบอลหนุ่มน้อยผู้นี้ไปร่วมทีม

หลังจากที่ เฟอร์กี้ ได้ฟังคำยืนยันจากหัวหน้าสเกาต์ของ แมนเชสเตอร์ ซิตี้ คือนาย เคน บาร์เนส ว่าทางสโมสรจะไม่เซ็นสัญญากับนักเตะผู้นี้ และนั่นก็ทำให้พวกเขาสูญเสียอย่างมหาศาลกับสิ่งที่พวกเขาปล่อยให้หลุดลอยไป ซึ่งกลับเป็นสิ่งที่ยิ่งใหญ่สำหรับ แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด ในเวลาต่อมา

ขณะ ที่ กิ๊กส์ อายุได้ 16 ปี เขาก็ได้เซ็นสัญญาร่วมทีมสมัครเล่น (YTS) และเริ่มเล่นเป็นอาชีพเมื่อเดือน พฤศจิกายน ปี ค.ศ. 1990 หลังวันเกิดครบรอบ 17 ปี เพียงไม่นาน ทั้งๆ ที่เขาเคยเป็นกัปตันทีม England Schoolboys แต่นั่นก็เป็นเพียงช่วงที่เขาเรียนในอังกฤษเท่านั้น เขาก็ไม่สามารถเล่นให้ทีมชาติอังกฤษได้ เพราะเขาเกิดและเติบโตที่ เวลส์ ทั้งพ่อแม่และญาติพี่น้องก็เป็นคนชาติ เวลส์ ดังนั้นเขาจึงต้องเล่นให้กับทีมชาติ เวลส์ เท่านั้น จะเป็นทีมอื่นไปไม่ได้

การ ลงเล่นนักแรกในลีกให้กับ แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด คือวันที่ 2 มีนาคม ค.ศ. 1991 เขาต้องลงสนามกับทีมพบกับ เอฟเวอร์ตัน ในสนาม โอลด์ แทรฟฟอร์ด โดยเป็นตัวสำรองและลงเล่นแทน เดนิส ไอร์วิน และการลงเล่นในศึก แมนเชสเตอร์ ดาร์บี้แมทช์ ครั้งแรกของเขาก็เป็นช่วงท้ายฤดูกาล โดยที่เขาสามารถทำประตูแรกให้กับทีมได้ และเป็นประตูเดียวที่เขาทำได้ในฤดูกาลนั้น

จากอาการบาดเจ็บของ ลี ชาร์ป ในช่วงต้นฤดูกาล 1991/92 ทำให้ ไรอัน กิ๊กส์ ได้มีโอกาสลงเล่นให้กับทีมชุดใหญ่ โดยเล่นในตำแหน่งที่เขาถนัดคือ ปีกซ้าย จากการลงเล่นให้กับ แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด ทำให้เขาได้รับแชมป์กับทีมในทุกๆ ถ้วย เช่น ลีก คัพ ในปี ค.ศ. 1992 ลีก แชมเปี้ยนชิพส์ (พรีเมียร์ ลีก) ในปี ค.ศ. 1993, 1994, 1996, 1997, 1999, 2000 และ 2001 เอฟเอ คัพ ในปี ค.ศ. 1994, 1996 และ 1999 และถ้วย ยูโรเปี้ยน คัพ ในปี ค.ศ. 1999

กับ ประสบการณ์ระดับชาติเขากลายเป็นนักฟุตบอลที่อายุน้อยที่สุดที่เล่นให้กับทีม ชาติ เวลส์ โดยนัดแรกกับทีมชาติเขาต้องเผชิญหน้ากับ เยอรมนี ด้วยวัย 17 ปี กับ 321 วัน

ไรอัน กิ๊กส์ ทำประตูที่สุดสวยและน่าจดจำให้กับ แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด มากมาย และนั่นก็รวมถึงประตูที่เขายิงให้กับทีมในศึก เอฟเอ คัพ รอบ semi-final ที่พบกับ อาร์เซนอล ที่ วิลล่า พาร์ค ในเดือนเมษายน ปี ค.ศ. 1999 ด้วย ในขณะนั้นเป็นช่วงนาทีสุดท้ายของการต่อเวลา และสกอร์ก็เสมอกันอยู่ที่ 1 – 1 หากจบเกมด้วยการเสมอก็จะต้องมีการยิงลูกโทษ แต่ กิ๊กส์ ก็โชว์ฟอร์มได้อย่างยอดเยี่ยมด้วยเลี้ยงบอลตรงไปยังแนวรับของ อาร์เซนอล และลากหลบนักเตะทีมคู่แข่งถึง 4 คน ก่อนสับไกยิงเต็มข้อ เดวิด ซีแมน หมดสิทธิ์เซฟ ลูกพุ่งเข้าตุงตาข่ายอย่างสวยงาม ทำเอานักวิจารณ์หลายต่อหลายคน ยกให้เป็นประตูสุดสวยแห่งศตวรรษเลยทีเดียว ซึ่งชัยชนะในนัดนี้เป็นหนึ่งในสามแชมป์ที่ทีมปีศาจแดงทำได้ในฤดูกาลนี้

ด้วย ฟอร์มการเล่นที่ยอดเยี่ยมทำให้แฟนบอลต่างก็ส่งเสียงเชียร์เขา พร้อมทั้งแต่งเพลง "Giggs will tear you apart again" เพื่อร้องเชียร์เขาในสนามด้วย

เซอร์ อเล็กซ์ เฟอร์กูสัน พูดถึง ไรอัน กิ๊กส์ ก่อนเริ่มฤดูกาล 2000/01 ว่า “ผมรู้ตั้งแต่นัดแรกที่เขาลงเล่นให้กับทีมเลยว่าเขามีความสามารถ และมีพรสวรรค์ และเขาก็เป็นนักเตะที่พิเศษมากคนหนึ่งตลอดช่วง 10 ปีมานี้ เมื่อใดเขาเล่นได้เต็มที่ตามความสามารถของเขาเอง น้อยคนนักที่จะตามจับเขาได้ น้อยคนที่มีฝีเท้าและการทะลุทุลวงอย่างเขา เมื่อเขาได้จับบอล มันเหมือนกับว่าเขาวิ่งได้โดยไม่มีบอลติดเท้านั่นล่ะ”

“เขาทำให้แนวรับฝั่งตรงข้ามหัวปั่น และนอกจากพรสวรรค์ที่เขามีแล้ว เขาก็ฝึกซ้อมอย่างหนักเพื่อทีมด้วย”

จาก นั้นก็มีข่าวคราวการย้ายทีมของเขามากมาย แต่ข่าวลือทุกข่าวก็จบลงเมื่อเขาตัดสินใจเซ็นสัญญาอยู่กับทีมไปอีก 5 ปี ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2001 เขากล่าวว่า “ผมหวังว่าปีที่ดีที่สุดของผมกำลังจะมาถึง ผมอายุ 27 ปีแล้วและอีก 3-4 ปีข้างหน้า อาจเป็นช่วงสูงสุดในอาชีพค้าแข้งของผม”

10 วันหลังจากนั้น เขาก็ทำประตูให้กับทีมได้ในการแข่งขันกับ โคเวนทรี ซิตี้ ที่ โอลด์ แทรฟฟอร์ด และนั่นก็เป็นส่วนช่วยในการคว้าแชมป์ พรีเมียร์ชิพ ครั้งที่ 7 ของเขา เขาทำประตูที่ 100 ในกับตัวเขาเองในการเล่นให้ทีมปีศาจแดงในวันศุกร์ที่ 23 สิงหาคม ค.ศ. 2002 ในนัดที่ แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด เสมอกับเชลซี 2 – 2 ที่ สแตมฟอร์ด บริดจ์

ลูก คนแรกของเขากับคู่หมั้น สเตซี่ย์ เป็นลูกผู้หญิง ชื่อ ลิเบอร์ตี้ ซึ่งเกิดเมื่อวันที่ 10 เมษายน ค.ศ. 2003 แต่ข่าวดี ก็มาเกิดในช่วงที่ไม่ค่อยดีนักในอาชีพของเขา เพราะช่วงปลายฤดูกาลเขามีฟอร์มการเล่นที่ไม่ค่อยดีนัก ตามมาด้วยเสียงโห่ โดยเฉพาะในนัดที่เขาลงเล่น เวอร์ธิงตัน คัพ รอบ semi-final ที่พบกับ แบล็คเบิร์น โรเวอร์ส ใน โอลด์ แทรฟฟอร์ด จากแฟนบอลของเขาเอง ซึ่งนั่นถือเป็นการกระทำที่ผิดมหันต์จากผู้ที่เคยให้การสนับสนุนเขามาโดย ตลอด สร้างความกดดันให้กับเขามากทีเดียว

แต่ด้วยความกดดันกลับทำให้ เขาฮึดสู้และกลับมาด้วยฟอร์มการเล่นที่ดีอีกครั้ง ในนัดที่พบกับทีม ยูเวนตุส ในศึก ยูฟ่า แชมเปี้ยนส์ ลีก โดยประตูที่เกิดขึ้นใน สตาดิโอ เดลเล อัลปิ ทำให้ทุกเสียงโห่ต้องเงียบกริบ และเตือนความทรงจำของแฟนๆ ว่าพวกเขาควรจะทำอย่างไรต่อไป...

แม้ว่าจะยังมีข่าวลือเกี่ยวกับการ ย้ายทีมอยู่เสมอ แต่มันก็เริ่มเบาบางลง และ กิ๊กซี่ ก็ยังคงเป็นนักเตะที่สร้างสรรค์เกมได้ดีที่สุดในประวัติศาสตร์ของสโมสร และตามด้วยการคว้าแชมป์ลีกเป็นครั้งที่ 8 กับทีมในปี 2002/03 และ แชมป์ เอฟเอ คัพ ในฤดูกาล 2003/04

ผลงาน

แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด

     รางวัลส่วนตัว

  • นักฟุตบอลยอดเยี่ยมของพีเอฟเอ: 2009
  • ดาวรุ่งยอดเยี่ยมของสมาคมนักฟุตบอลอาชีพ: 1992, 1993
  • บราโว อวอร์ด: 1993
  • ได้รับเลือกให้อยู่ในทีมแห่งทศวรรษของพรีเมียร์ลีก: 2003
  • ได้รับเลือกเข้าสู่หอเกียรติยศฟุตบอลอังกฤษ: 2005
  • นักฟุตบอลเวลส์ยอดเยี่ยมแห่งปี: 1996, 2006
  • รางวัลผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำเดือนของพรีเมียร์ลีก: กันยายน 1993, สิงหาคม 2006, กุมภาพันธ์ 2007
  • ได้รับเลือกให้อยู่ในทีมแห่งศตวรรษของสมาคมนักฟุตบอลอาชีพ: 2007
  • ได้รับเลือกให้อยู่ในทีมยอดเยี่ยมแห่งปีของสมาคมนักฟุตบอลอาชีพ: 1993, 1994, 1995, 1996, 1998, 2001, 2007
  • เป็นผู้เล่นของแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ดเพียงคนเดียวที่ได้แชมป์ลีกมากถึง10สมัย

ไรอัน กิ๊กส์ข้อมูลส่วนตัวชื่อเต็มRyan Joseph Giggs OBE.วันเกิด29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2516 (อายุ 35 ปี)สถานที่เกิดเมืองคาร์ดิฟฟ์ เวลส์ส่วนสูง5 ฟุต 11 นิ้ว (1.80เมตร)ฉายาGigsy,RG7ตำแหน่งกองกลางตัวรุก
กองหน้าตัวต่ำข้อมูลสโมสรสโมสรปัจจุบันแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ดหมายเลข11สโมสรเยาวชน ?
1987–90แมนเชสเตอร์ ซิตี้
แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ดสโมสรอาชีพ*ปีสโมสรลงเล่น
(ประตู)
1990–ปัจจุบันแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด554 (102)ทีมชาติ1991

1991–2007ทีมชาติเวลส์ (ชุดอายุไม่เกิน 21ปี)






                                                       ปาทริซ เอฟร่า




วัน เดือน ปี เกิด 15 พฤษภาคม 1981
สถานที่เกิด เมืองดาการ์, เซเนกัล
ส่วนสูง 175 เซนติเมตร
น้ำหนัก 76 กิโลกรัม
ตำแหน่ง กองหลัง (แบ็คซ้าย)
หมายเลขเสื้อ 3
ทีมชาติ ฝรั่งเศส
ลงเล่นทีมชาตินัดแรก เดือนสิงหาคม 2004 พบกับบอสเนียฯ
วันที่เซ็นสัญญา 10 มกราคม 2006
ต้นสังกัดเดิม โมนาโก
ค่าตัวในการย้ายทีม ไม่เปิดเผย (บางแหล่งข่าวคาดว่า 5.5 ล้านปอนด์)
วันที่หมดสัญญา เดือนมิถุนายน 2009
ต้นสังกัดเดิมอื่นๆ ปารีส แซงต์ แชร์กแมง, มาร์ซาล่า, มอนซ่า, นีซ

หลังจากต้องต่อสู้กับอินเตอร์ มิลาน รวมทั้งคู่แข่งอื่นๆ ในการแย่งชิงปาทริซ เอวร่า ในที่สุดแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด ก็สามารถคว้าตัวฟูลแบ็คทีมชาติฝรั่งเศสรายนี้มาร่วมทีมได้สำเร็จในเดือน มกราคม 2006

จากการย้ายมาร่วมทีมปิศาจแดง เพียงไม่กี่วันหลังจากการคว้าตัวเนมานย่า วิดิช การมาของเอวร่า เป็นการส่งสัญญาณแสดงความตั้งใจของเซอร์ อเล็กซ์ ที่จะปรับปรุงแผงกองหลังของแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด ซึ่งประสบปัญหาอย่างหนักนับตั้งแต่การได้รับอาการบาดเจ็บของนักเตะคนสำคัญ อย่างกาเบรียล ไฮน์เซ่ ผู้เล่นยอดเยี่ยมของสโมสรในปี 2005

แม้ว่าจะอายุเพียง 24 ปีในตอนที่มาร่วมทีมปิศาจแดง แต่เอวร่า ก็ติดทีมชาติฝรั่งเศสไปแล้ว 5 ครั้ง และยังเป็นกัปตันทีมของโมนาโก อดีตสโมสรต้นสังกัดที่ซึ่งเขาแสดงความสามารถว่าเป็นนักเตะที่เติมเกมรุกได้ ดีและมีความทุ่มเทเต็มที่

เหมือนกับนักเตะหลายคนที่เซอร์ อเล็กซ์ เซ็นสัญญามาร่วมทีม เอวร่า เป็นนักเตะที่ยังอายุน้อย เล่นได้หลากหลาย และมีความทะเยอทะยาน ด้วยความสามารถที่เล่นได้ทั้งกองกลางริมเส้นฝั่งซ้ายและแบ็คซ้าย นักเตะทีมชาติฝรั่งเศสรายนี้เป็นที่รู้จักในเรื่องความแม่นยำและฝีเท้าที่มี ความเร็วจัด และยังเคยถูกนำไปเปรียบเทียบกับเจสเปอร์ บลอมควิสต์ อดีตนักเตะริมเส้นของแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด อีกด้วย

หลังจากใช้ชีวิตอยู่ที่บ้านเกิดในเมืองดาการ์ ประเทศเซเนกัล ได้ไม่นาน เอวร่า ก็ย้ายไปอยู่ในประเทศฝรั่งเศสกับมารดาของเขาตั้งแต่ยังมีอายุเพียง 3 ปี และเริ่มต้นเรียนรู้การเล่นฟุตบอลในระบบเยาวชนของปารีส แซงต์ แชร์กแมง โดยในตอนแรกเขาลงเล่นในตำแหน่งกองหน้า แต่หลังจากไม่สามารถขึ้นไปเล่นในทีมชุดใหญ่กับสโมสรในฝรั่งเศสได้ เขาจึงย้ายไปอยู่กับมาร์ซาล่า สโมสรในลีกระดับต่ำอิตาลี ก่อนที่จะย้ายไปร่วมทีมมอนซ่า ซึ่งก็อยู่ในอิตาลีเช่นกัน

หลังจากนั้น เอวร่า ก็ถูกนีซ ดึงตัวกลับไปที่ฝรั่งเศสอีกครั้งในเดือนมกราคม 2000 ด้วยอายุเพียง 18 ปี และเมื่อผ่านไปอีก 2 ฤดูกาลที่ประสบความสำเร็จกองหลังจากเซเนกัลรายนี้ก็เป็นตกเป็นที่สนใจของ ทั้งปารีส แซงต์ แชร์กแมง และโมนาโก ซึ่งในที่สุดก็เป็นโมนาโก ที่ได้เขาไปร่วมทีมในปี 2002 โดยเอวร่า กลายเป็นแบ็คซ้ายตัวหลักของทีม ลงเล่นในลีกให้กับโมนาโก 120 นัด และได้รับประสบการณ์ในฟุตบอลยุโรปอีกด้วย

ในตอนที่ย้ายมาร่วมทีมแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด เอวร่า เปิดเผยว่าเขาเคยปฏิเสธข้อเสนอจากทั้งอาร์เซน่อล และลิเวอร์พูล มาแล้วเพื่อที่จะได้มีโอกาสย้ายมาสู่โรงละครแห่งความฝัน

"ลิเวอร์พูล และอาร์เซน่อล เป็นสโมสรที่ยิ่งใหญ่ แต่แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด เป็นสิ่งที่แตกต่างออกไปอย่างสิ้นเชิง อินเตอร์ ก็พยายามจะคว้าตัวผมเช่นกันในช่วงเปิดตลาดซื้อขาย แต่มีเพียงสโมสรเดียวเท่านั้นที่ผมต้องการ"

นอกจากนี้ เอวร่า ยังต้องการตำแหน่งในทีมชาติฝรั่งเศสเพื่อไปเล่นฟุตบอลโลกรอบสุดท้ายที่ เยอรมันด้วย โดยเขากล่าวว่า "ผมคิดถึงการเล่นให้กับทีมชาติฝรั่งเศสทุกวัน และการได้ไปเล่นฟุตบอลโลกเป็นเป้าหมายของผมอย่างแน่นอน มันขึ้นอยู่กับผมที่จะทำให้มันเป็นไปได้ด้วยการทำผลงานอย่างสุดยอดให้กับแมน เชสเตอร์ ยูไนเต็ด"

เกียรติยศที่เคยได้รับกับอดีตสโมสรต้นสังกัด
ปี 2003 - แชมป์ลีก คัพ ของฝรั่งเศส (โมนาโก)
ปี 2004 - รองแชมป์ยูฟ่า แชมเปี้ยนส์ ลีก (โมนาโก)
ปี 2004 - นักเตะดาวรุ่งยอดเยี่ยมประจำฤดูกาล ของลีกเอิงฝรั่งเศส (โมนาโก)








ชื่อเต็ม ริทชี่ รีอา อัลฟอนส์ เดอ ลาท
 วันเกิด 28 พฤศจิกายน 1988
สถานที่เกิด อันท์เวิร์ป, เบลเยี่ยม
ส่วนสูง 1.86 เมตร (6 ฟุต 1 นิ้ว)
ตำแหน่ง กองหลัง
หมายเลขเสื้อ 30

ริทชี่ เดอ ลาท เกิดในเมืองอันท์เวิร์ป ประเทศเบลเยี่ยม เป็นนักเตะดาวรุ่งในตำแหน่งกองหลังที่แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด เซ็นสัญญาคว้าตัวมาร่วมทีมจากสโต๊ค ซิตี้

เดอ ลาท เริ่มเล่นฟุตบอลตั้งแต่อายุเพียง 6 ขวบ กับสโมสรโฮบอเก้น ในเมืองอันท์เวิร์ป บ้านเกิด ก่อนย้ายมาร่วมทีมรอยัล อันท์เวิร์ป ในฤดูกาล 2005-06 ก่อนได้เลื่อนชั้นขึ้นสู่ทีมชุดใหญ่ในฤดูกาล 2006-07 ก่อนที่สโต๊ค ซิตี้ จะคว้าตัวเขามาร่วมทีมในวันที่ 17 สิงหาคม 2007 ด้วยค่าตัวเพียง 100,000 ปอนด์

ชีวิตค้าแข้งของเดอ ลาท ในทีมช่างปั้นหม้อ ไม่ได้โรยด้วยกลีบกุหลาบอย่างที่เขาหวังไว้ เขาไม่ได้ลงเล่นให้กับต้นสังกัดเลยแม้แต่นัดเดียว โดยถูกส่งให้เร็กซ์แฮม ยืมตัวไปในปี 2008 และได้ลงเล่นเพียง 3 นัด ก็ต้องถูกส่งตัวกลับเนื่องจากเขาต้องเข้ารับการผ่าตัดไส้เลื่อน

ในวันที่ 8 มกราคม 2009 เดอ ลาท เซ็นสัญญาย้ายมาร่วมทีมแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด ด้วยสัญญา 3 ปี โดยค่าตัวของเขานั้นขึ้นอยู่กับว่าเขาจะทำได้ดีเพียงใดกับต้นสังกัดใหม่ หลังย้ายมาร่วมทีมปีศาจแดง เดอ ลาท ได้ลงเล่นนัดแรกในทีมชุดใหญ่ในวันที่ 24 พฤษภาคม 2009 ในเกมปิดฤดูกาลที่ทีมชนะฮัลล์ ซิตี้ 1-0

ในฤดูกาล 2009-10 เดอ ลาท ได้ลงเล่นในเกมลีก คัพ ในฐานะตัวสำรองในเกมที่พบกับวูลฟ์แฮมป์ตัน วันเดอร์เรอร์ส ในรอบที่สาม และกับบาร์นสลี่ย์ ในรอบที่สี่ ในลงเล่นเป็นตัวจริงในเกมกับท็อตแนม ฮ็อตสเปอร์ ในรอบที่ห้า ซึ่งเป็นช่วงที่ทีมอยู่ในภาวะ "วิกฤตกองหลัง" ในเดือนพฤศจิกายน 2009 นั่นเอง

เดอ ลาท ลงเล่นเกมแรกในลีกกับวูลฟ์แฮมป์ตัน วันเดอร์เรอร์ส ในวันที่ 15 ธันวาคม และเกมที่สองกับฟูแล่ม ในวันที่ 19 ธันวาคม และหลังจากนั้นไม่นานเขาก็ถูกเรียกตัวติดทีมชาติเบลเยี่ยมในถ้วยคิริน คัพ โดยได้ลงเล่นในเกมที่เสมอกับชิลี 1-1


 

 

 

 

มาเม่ บิราม ดิยุฟ

 

 

วันเกิด 16 ธันวาคม 1987
เมืองเกิด ดาก้าร์, เซเนกัล
ตำแหน่ง ศูนย์หน้า, Forward
เข้าร่วมทีม 30 กรกฎาคม 2009
ลงสนามนัดแรกให้แมนฯ ยูไนเต็ด 9 มกราคม 2010 พบกับเบอร์มิ่งแฮม (เยือน)
ทีมชาติ เซเนกัล

มาเม่ บิราม ดิยุฟ กลายเป็นผู้เล่นชาวเซเนกัลคนแรกที่ย้ายมาร่วมทีม "ปีศาจแดง" แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด หลังเซ็นสัญญาในวันที่ 30 กรกฎาคม 2009 และกลายเป็นผู้เล่นคนที่สองที่ย้ายมาจากทีมโมลด์ ในนอร์เวย์ ซึ่งเป็นสโมสรเดียวกับที่โอเล่ กุนนาร์ โซลชาร์ เคยอยู่ ก่อนจะย้ายมายังถิ่นโอลด์ แทรฟฟอร์ด

ขณะที่รอใบอนุญาตการทำงาน "เวิร์ค เพอร์มิต" ดิยุฟยังต้องเล่นกับสโมสรเดิมไปก่อน และเขาก็พิสูจน์ให้แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด ได้เห็นว่าคิดไม่ผิดแน่นอนที่ดึงตัวมาร่วมทีม โดยกระหน่ำคนเดียว 4 ประตู ในนัดที่โมลด์ ชนะบรานน์ 5 - 2 เป็นแฮตทริกใน 9 นาทีแรกของการแข่งขัน และประตูที่ 4 ในนาทีที่ 27

ดิยุฟ ลงสนาม 75 ครั้ง ทำไป 33 ประตู ถือว่าไม่เลว ในขณะที่เจ้านายใหม่อย่าง เซอร์ อเล็กซ์ เฟอร์กูสัน ผู้จัดการทีม แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด ให้ความเห็นเกี่ยวกับตัวเขาว่า รู้สึกประทับใจในผลงาน โดยเฝ้าดูฟอร์มการเล่นของศูนย์หน้ารายนี้มากว่า 2 ปี แล้ว จัดได้ว่าเป็นผู้เล่นที่มีพรสวรรค์ และน่าจะก้าวขึ้นมาเป็นกำลังสำคัญของทีมได้ ว่าแล้วก็จัดการมอบเสื้อหมายเลข 32 ให้ไปครอบครอง

เซอร์ อเล็กซ์ เฟอร์กูสัน ส่งดิยุฟ ลงเป็นตัวสำรองแทน พอล สโคลส์ ในเกมที่เสมอกับ เบอร์มิ่งแฮม ซิตี้ 1 - 1 ประเดิมสนามนัดแรกให้กับทีม และต่อมาที่โอลด์ แทรฟฟอร์ด แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด เปิดบ้านต้อนรับการมาเยือนของเบิร์นลี่ย์ เขาก็แสดงถึงสัญชาตญาณความเป็นศูนย์หน้า เมื่อได้รับโอกาสลงสนามแทนเวย์น รูนี่ย์ วิ่งโฉบขึ้นไปโหม่งบอลข้ามหัวผู้รักษาประตู เป็นประตูที่ 3 ปิดท้ายให้กับทีมเอาชนะเบิร์นลี่ย์ไป 3 - 0

ถึงตอนนี้เขาได้กลายเป็นขวัญใจคนใหม่ของ "เรด อาร์มี่" ไปแล้ว แต่ที่แน่ๆ เขาไม่ใช่ขวัญใจของ หลุยส์ นานี่ เพราะ...ทำไมต้องตีลังกา ฮ่าๆๆ


 

 

 

 



แดนนี่  เวลเบ็ค





วันเกิด 26 พฤศจิกายน 1990
สถานที่เกิด แมนเชสเตอร์, อังกฤษ
สัญชาติ อังกฤษ
ส่วนสูง 1.85 เมตร (6 ฟุต 1 นิ้ว)
ตำแหน่ง ศูนย์หน้า, ปีก
หมายเลขเสื้อ 19

เดเนี่ยล "แดนนี่" เวลเบ็ค เกิดเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 1990 ในแถบลองไซต์ เมืองแมนเชสเตอร์ ประเทศอังกฤษ เป็นนักเตะของแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ดในตำแหน่งปีกหรือศูนย์หน้า

ด้วยความสูง และสไตล์การวิ่งทำให้เขาถูกนำไปเปรียบเทียบกับเอ็มมานูเอล อเดบายอร์ ของอาร์เซนอล และเอ็นวานโก้ คานู ของพอร์ตสมัธ

เวลเบ็คเข้าร่วมทีมแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด ในระหว่างฤดูกาล 2005-06 ลงสนามเป็นนัดแรกในทีมเยาวชนอายุต่ำกว่า 18 ปี เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2006 ในเกมลีกที่พบกับซันเดอร์แลนด์ และในเกมต่อมาเขาก็ได้ลงสนามอีกในฐานะตัวสำรอง

ฤดูกาลต่อมา เวลเบ็คลงสนามทั้งสิ้น 28 นัด ทำได้ 9 ประตู รวมทั้งการลงเล่นในเอฟเอ ยูธ คัพ 8 นัด ยิงได้ 1 ประตู และช่วยให้ทีมเข้าถึงรอบชิงชนะเลิศ

เวลเบ็คเซ็นสัญญานักเตะฝึกหัดครั้งแรกในเดือนกรกฏาคม 2007 และเริ่มต้นฤดูกาล 2007-08 ในทีมเยาวชนอายุไม่เกิน 18 ปี แต่ในเวลาไม่นานเขาก็ได้เลื่อนชั้นขึ้นมาสู่ทีมสำรอง

จากนั้นในเดือนมกราคม 2008 เขาถูกเรียกตัวสู่ทีมชุดใหญ่สำหรับการเดินทางไปซาอุดิอาระเบียเพื่อเตะกับ อัล ฮีลัล ในเกมเทสติโมเนียลของซามี่ อัล-จาเบอร์ ซึ่งถือเป็นการลงสนามนัดแรกในทีมชุดใหญ่ของเขา โดยเวลเบ็ค ถูกเปลี่ยนตัวลงมาแทนอันแดร์สัน ในนาทีที่ 65 และถูกทำฟาวล์ในกรอบเขตโทษก่อนหมดเวลาเพียงไม่กี่นาที แต่เขายิงจุดโทษข้ามคานออกไป

ในฤดูกาล 2008-09 เวลเบ็คได้โอกาสลงสนามเป็นตัวจริงให้ทีมชุดใหญ่ครั้งแรกในเกมคาร์ลิ่ง คัพ รอบสาม ที่ทีมเปิดบ้านพบกับมิดเดิ้ลสโบรช์ ซึ่งยูไนเต็ดเอาชนะไปได้ 3-1 โดยเวลเบ็คมีโอกาสจะทำประตูได้ในนาทีที่ 3 แต่เขาก็พลาดไปนิดเดียวเท่านั้น

"ไม่ต้องสงสัยเลยว่าเขาเป็นนักเตะของแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด แต่เขายังเด็กมาก" เซอร์ อเล็กซ์เผย

"เขาต้องการเวลาในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ ซึ่งเราหวังว่าเขาจะสามารถเป็นกำลังสำคัญของเราต่อไปได้ในอนาคต"

เวลเบ็คมีชื่อในม้านั่งสำรองของทีมในศึกยูฟ่า แชมเปี้ยนส์ ลีก รอบรองชนะเลิศที่พบกับบาร์เซโลน่า และเป็นหนึ่งในนักเตะที่เดินทางไปเกมนัดชิงที่มอสโก

"เขามีสไตล์ที่ดูนุ่มนวลและเฉื่อยชา" พอล แม็คกินเนส (โค้ชทีมเยาวชนอายุต่ำกว่า 18 ปี) กล่าว

"แต่อย่าปล่อยให้สิ่งนี้หลอกคุณ ในความเป็นจริง เขาเป็นคนที่ทำงานหนักมากทีเดียว"

"แดนนี่เป็นนักเตะที่มีความสามารถพิเศษและเปี่ยมไปด้วยทักษะ เขาแข็งแกร่ง มีความเร็ว เล่นเกมรับได้ดีเช่นเดียวกับเกมรุก นอกจากนี้เขายังเป็นผู้นำที่ดีอีกด้วย"


 

 

 

 

 

เบน อามอส


 



หมายเลข 40
วันเกิด 10 เมษายน 1990
สถานที่เกิด แม็คเคิลสฟิลด์, อังกฤษ
ตำแหน่ง ผู้รักษาประตู
ร่วมทีมแมนฯ ยูไนเต็ด 1 กรกฎาคม 2006
ลงเล่นนัดแรกให้แมนฯ ยูไนเต็ด 23 กันยายน 2008 (เกมที่พบกับมิดเดิ้ลสโบรซ์)

เบน อามอส คือผู้รักษาประตูอายุน้อยที่มีพรสวรรค์คนหนึ่ง โดยเขาเคยติดทีมชาติอังกฤษชุดเยาวชนมาแล้ว โดยหนุ่มน้อยร่างสูงจาก แม็คเคิลสฟิลด์ ผู้นี้เริ่มต้นการเล่นฟุตบอลอย่างจริงจังตั้งแต่อายุ 11 ปี และหลังจากที่เขาย้ายออกจาก ครูว์ อเล็กซานดร้า เพื่อมาร่วมเล่นกับแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด อะคาเดมี่ ในเดือนกรกฎาคม 2006 และเขาก็มีส่วนสำคัญในทีมแมนฯ ยูไนเต็ด ชุดเยาวชน จนพาทีมเข้าถึงรอบชิงชนะเลิศไนกี้ คัพ หลังจากที่เขาเซ็นสัญญากับทีมไม่นาน

และด้วยเวลาอันรวดเร็ว อามอสก็ได้ขึ้นมาเล่นในทีมสำรองของแมนฯ ยูไนเต็ด และลงเล่นนัดแรกให้ทีมสำรองในเดือนพฤศจิกายน 2007 โดยไม่เสียประตู และนัดนั้นแมนฯ ยูไนเต็ด ก็เอาชนะวีแกน ไปได้ 1 - 0

จากนั้น ไม่ถึง 1 ปีเบนก็ได้ขยับขึ้นมาเล่นในทีมชุดใหญ่ และลงเล่นให้ทีมในเกมอุ่นเครื่องก่อนเปิดฤดูกาล 2008/09 ทั้งหมด 2 นัด และก็ป้องกันประตูของแมนฯ ยูไนเต็ด ไว้ได้ ยกเว้นลูกยิงในนาทีสุดท้ายของเกม โดย เจอร์เมน เดโฟ ของปอร์ทสมัธ

ผู้รักษาประตูผู้กระหายการเรียนรู้ผู้นี้ มีเป้าหมายไปที่การได้มีส่วนร่วมในทีมชุดใหญ่อย่างต่อเนื่อง "หวังเป็นอย่างยิ่งว่าผมจะได้ต่อสู้เพื่อแย่งชิงตำแหน่งในทีมชุดใหญ่ มันเป็นเป้าหมายที่สำคัญของผมที่จะได้ลงเล่นให้ทีมชุดใหญ่ของสโมสร ไม่อย่างนั้นผมคงไม่มาอยู่ที่นี่หรอก จริงมั๊ย"

และเขาก็ได้ลงเล่นเป็นตัวจริงนัดแรกให้ทีมชุดใหญ่ของแมนฯ ยูไนเต็ด แล้วในเกมคาร์ลิ่ง คัพ เมื่อคืนวันที่ 23 กันยายน 2551 และนัดนี้แมนฯ ยูไนเต็ด เอาชนะมิดเดิ้ลสโบรซ์ มาได้ 3 - 1


 

ฟาบิโอ ดา ซิลวา

 



วันเกิด 9 กรกฎาคม 1990
สถานที่เกิด ริโอ เด จาเนโร, ประเทศบราซิล
ตำแหน่ง แบ็คซ้าย
หมายเลขเสื้อ 20
ทีมชาติ บราซิล

ฟาบิโอ ดา ซิลวา และคู่แฝดของเขาถูกค้นพบโดย เลส เคอร์ชอว์ ผู้บริหารของทีมเยาวชนในช่วงซัมเมอร์ปี 2005 ในขณะที่เขาเล่นให้กับทีมเยาวชนของ ฟลูมิเนนเซ่ ในการทัวร์ฮ่องกง และเพียงไม่นาน ผีแดงก็ไปเคาะประตูทักทายเขา

ฟาบิโอ ได้พิสูจน์ศักยภาพของเขาในเวทีเยาวชนระดับโลกมาแล้ว เขาได้เป็นทั้งกัปตัน และเป็นผู้ที่ทำประตูได้มากที่สุดในการแข่งขันฟุตบอลโลกระดับอายุไม่เกิน 17 ปีรอบสุดท้าย ที่ประเทศเกาหลี ในปี 2007

เว็บไซต์ของฟีฟ่า ได้กล่าวคำยกย่องแก่นักเตะอายุน้อยผู้นี้ หลังจากเกมที่ปะทะกาน่า

"บราซิลเล่นอย่างเยือกเย็น และการวางแผนการเล่นที่ซับซ้อนนั่นก็น่าประทับใจมากจนต้องจับตามอง โดยเฉพาะฟาบิโอที่ช่วยคุมเกมของทีมไว้ได้"

และด้วยคุณสมบัติอันยอดเยี่ยมของเขานั่นเอง ที่ทำให้ เซอร์ อเล็กซ์ เฟอร์กูสัน ยิ่งยกย่องชมเชยพวกเขามากยิ่งขึ้น "เป็นเอกลักษณ์ของการเล่นแบบบราซิลแท้ๆ" เขากล่าว "พวกเขาแค่รักการเล่น พวกเขาว่องไว และรู้จักตัดสินใจ ผมว่าพวกเขาทั้งคู่ต่างก็เป็นนักเตะชั้นยอด ผมคิดอย่างนั้นจริงๆ นะ"

คำยืนยันของผู้จัดการทีมปีศาจแดงที่จะเซ็นสัญญากับนักเตะทั้งสองคน แสดงให้เห็นว่าเขาคาดหวังกับทั้งคู่ไว้มากขนาดไหน "ฟลูมิเนนเซ่ สโมสรเดิมของพวกเขาไม่ได้ให้พวกเขาลงเล่นมานานแล้วเพราะพวกเขาจะย้ายมาเล่น กับเรา แล้วพวกเขาก็ย้ายมาในเดือนมกราคมที่ผ่านมา (ก่อนการเซ็นสัญญาอย่างเป็นทางการในเดือนกรกฎาคม 2008) แต่ก็ช้าไปหน่อยสำหรับการยื่นขอเวิร์ค เพอร์มิต"

เมื่อฟาบิโอ และ ราฟาเอล อายุครบ 18 ปี ก็ถึงเวลาที่พวกเขาสามารถย้ายมาเล่นได้อย่างถูกต้องซึ่งเป็นเวลาเพียงไม่กี่ วันก่อนที่จะพบกับ ปีเตอร์โบโร่ ในการแข่งกระชับมิตรก่อนฤดูกาลในวันที่ 4 สิงหาคม 2008

หลังจากที่ได้นั่งดู ราฟาเอล คู่แฝดของเขา โชว์ฟอร์มได้อย่างงดงามในช่วงครึ่งแรก ฟาบิโอก็ลุกออกจากม้านั่งมาวาดลวดลายอันเฉียบขาดไม่แพ้กัน ทั้งพละกำลัง และความกระตือรือล้น รวมไปถึงความสามารถอันไม่อาจวัดได้

เขามีความมุ่งมั่นอย่างแรงกล้าที่จะก้าวต่อไป เหมือนกับปาทริซ เอฟร่า ที่ครองตำแหน่งแบ็คซ้ายอยู่เช่นกัน







 

Advertising Zone    Close


Online: 1 Visits: 5,789 Today: 2 PageView/Month: 22

ด้วยความปราถนาดีจาก "สยามทูเว็บดอทคอม" และเพื่อป้องกันการเปิดเว็บไซต์เพื่อหลอกลวงขายของ โปรดตรวจสอบร้านค้าให้แน่ใจก่อนตัดสินใจซื้อของทุกครั้งนะคะ    อ่านเพิ่มเติม ...